1 / 38

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย The Thailand Research Fund (TRF) ฝ่ายอุตสาหกรรม ( ฝ่าย 5)

โครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี Industrial and Research Project for Undergraduate Students. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย The Thailand Research Fund (TRF) ฝ่ายอุตสาหกรรม ( ฝ่าย 5) รศ . ดร . สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ ผอ . ฝ่าย. รศ. ดร. วิโรจน์ บุญอำนวยวิทยา

cole-cross
Download Presentation

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย The Thailand Research Fund (TRF) ฝ่ายอุตสาหกรรม ( ฝ่าย 5)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรีIndustrial and Research Project for Undergraduate Students สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย The Thailand Research Fund (TRF) ฝ่ายอุตสาหกรรม (ฝ่าย 5) รศ. ดร. สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ผอ. ฝ่าย รศ. ดร. วิโรจน์ บุญอำนวยวิทยา รศ. ดร. กอบบุญ หล่อทองคำ ผู้จัดการโครงการ

  2. “ปรัชญา” ของ IRPUS “การสร้างคนโดยงานวิจัยในระบบการศึกษาระดับปริญญาตรี” IPUS1 IPUS2 RPUS1 RPUS2

  3. RPUS2 RPUS1 IPUS 1&2

  4. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ IPUS 1&2 • ต้องการสร้างโดยตรงคือ นักศึกษาที่มีความสามารถแก้ปัญหาได้จริง • ต้องการสร้างโดยอ้อมคือ ความร่วมมือระหว่าง อาจารย์และผู้ประกอบการ

  5. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ IPUS 1&2 • ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ - สิ่งคาดหวังโดยตรง • นักศึกษาได้รับการพัฒนาความสามารถ • เข้าใจสภาพปัญหาจริงจากอุตสาหกรรม • รู้จักแก้ปัญหาที่ได้ผลในทางปฏิบัติ (practical)และ เป็นผลใช้งานได้จริง (realistic)

  6. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ IPUS 1&2 • ความสำเร็จที่เป็นผลพลอยได้ - สิ่งคาดหวังโดยอ้อม • ผู้ประกอบการมีทัศนะคติที่ดีต่องานวิจัย • อาจารย์ได้สัมผัสปัญหาจริง ใช้ความรู้ระดับสูงมาแก้ปัญหา ระดับกลาง • การฝึกงานภาคฤดูร้อนของนักศึกษาได้รับการเอาใจใส่มากขึ้น • เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างอุตสาหกรรมกับมหาวิทยาลัย • อุตสาหกรรมเติบโตและแข่งขันได้

  7. ขอบเขตของโครงการ IPUS 1&2 • โครงงานวิศวกรรมศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการ และ อาจารย์ นักศึกษา • พัฒนาโครงงานจากโจทย์ของผู้ประกอบการโดยตรงและส่ง นักศึกษาฝึกงานกับผู้ประกอบการนั้น (IPUS1) • พัฒนาโครงงานจากการฝึกงานภาคฤดูร้อนของนักศึกษา • หรือการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับผู้ประกอบการ • (IPUS2)

  8. ขอบเขตของโครงการ IPUS 1&2 (ต่อ) • ประกอบด้วยลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้งหมดดังนี้ • ค้นหาสิ่งใหม่ๆ -> ได้ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ • แก้ปัญหาการผลิต • ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิต • ลดต้นทุนการผลิต • ลดปริมาณการสูญเสียจากกระบวนการผลิต • นำผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านการตรวจคุณภาพกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ • ปรับปรุงเทคโนโลยีโดย • เพิ่มเติมจากสิทธิบัตร • การบริหารจัดการและการบริการเพื่อให้ได้ข้อมูลและทางเลือกที่ • เหมาะสมทางด้านธุรกิจ

  9. ขอบเขตของโครงการ IPUS 1&2 (ต่อ) • ลักษณะใดลักษณะหนึ่งต่อไปนี้จะไม่ได้รับการสนับสนุน • งานสร้างเครื่องจักรที่สามารถหาซื้อได้หรือการสร้าง • ลอกเลียนแบบ • งานเก็บข้อมูลเบื้องต้น หรือ ข้อมูลสำหรับงานที่ปรึกษา • ที่ไม่มีแผนการนำไปใช้จริง

  10. ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ • SMEs ผู้ประกอบการรายย่อย • คนไทยถือหุ้นมากกว่า 50 % • สกว.ให้ความสำคัญ อุตสาหกรรมเกษตร หรือ อุตสาหกรรม มีฐานการผลิตลงถึงระดับรากหญ้า • จัดอุปกรณ์และสถานที่เหมาะสำหรับนักศึกษาเข้าไปทำโครงงาน • สนับสนุนโครงงานเป็นเงินสด (incash)หรือให้ความอนุเคราะห์เป็นสิ่งของ (inkind)ตามฐานะ

  11. เงื่อนไขและขอบเขตของการสนับสนุน IPUS 1& 2 • ตกลงความลับและผลประโยชน์ก่อนเริ่มโครงงาน • ตกลง กรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์ ดังนี้ • ผู้ประกอบการคืนเงิน สกว.กรณีเป็นความลับ หรือ ถ้าไม่คืนเงินต้องยอมให้ผู้อื่นเยี่ยมชมเมื่อ สกว.ร้องขอ • หนังสือยืนยันตาม IRP2 • อาจารย์ต้องเอาใจใส่ผู้ประกอบการเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตกลงกันไว้ • อาจารย์เจ้าของข้อเสนอขอรับทุน IRPUS ได้ไม่เกิน 3 โครงงาน • ต้องแสดงให้เห็นว่ามีเวลาเพียงพอที่จะดูแลโครงงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ • รับนักศึกษาได้มากกว่า 1 คนและ เป็นนักศึกษาต่างสาขาได้ 1 โจทย์จากผู้ประกอบการ 2 โจทย์จากการฝึกงานภาคฤดูร้อน หรือ การมีปฏิสัมพันธ์กัน • ดำเนินการทำโครงงานของนักศึกษา รายงานความก้าวหน้า • ดูแลให้นักศึกษานำเสนอโครงงานในนิทรรศการเมื่อสิ้นสุดโครงงาน • ดูแลกิจกรรมของนักศึกษาตามโปรแกรมที่สำนักประสานงานโครงการ IPUS กำหนด • การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงาน ต้องระบุ • “ได้รับอุดหนุนจาก โครงการโครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี (IRPUS) ประจำปี 2xxx” แผนควบคุมคุณภาพวิชาหรือประมวลรายวิชา ทุนสนับสนุนที่ได้รับมอบผ่านคณะฯ ความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์และผู้ประกอบการ สิทธิของอาจารย์

  12. งบประมาณสนับสนุนทุน IPUS 1&2 ~ 100,000 บาท

  13. RPUS • เป็นโครงการที่เน้นการวิจัยต้นทางของกระบวนการวิจัย • ไม่จำเป็นต้องมีอุตสาหกรรมร่วมงานวิจัย • คงหลักการของการ “สร้างคน” RPUS2 RPUS1

  14. RPUS1 เป็นทุนที่ให้นักศึกษาปริญญาตรีที่มีผลการเรียนดี GPA > 2.75 หรือ 1 ใน 10 ของกลุ่ม ทำวิชาโครงงานกับอาจารย์ที่มีงานวิจัยและมีแหล่งทุนสนับสนุนแล้ว เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการทำวิจัย เป็นการเตรียมพร้อมสำหรับศึกษาต่อในปริญญาโท

  15. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ RPUS1 • ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ - สิ่งคาดหวังโดยตรง • นักศึกษาได้รับการพัฒนาความสามารถ • นักศึกษามีหลักคิดในการทำวิจัย • นักศึกษามีฉันทะในการทำวิจัย เกิดความตั้งใจที่จะศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้น

  16. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ RPUS1 • ความสำเร็จที่เป็นผลพลอยได้ - สิ่งคาดหวังโดยอ้อม • สร้างกำลังคนที่ศึกษาระดับสูงมากขึ้น • มีการเชื่อมต่อการศึกษาระดับ ป.ตรี กับ ป.โท • อาจารย์ได้นักศึกษามีความสามารถสูงช่วยงาน

  17. เงื่อนไขและขอบเขตของการสนับสนุนทุน RPUS1 • อาจารย์ยื่นข้อเสนอขอรับทุน IRPUS ได้ไม่เกิน 3 โครงงาน • 1 โครงงานมีนักศึกษา 1 คน มีแหล่งทุนอยู่แล้ว • อาจารย์ต้องมีทุนวิจัยอยู่แล้ว • ขยายเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ต่อได้ แผนควบคุมคุณภาพวิชา หรือประมวลรายวิชา ทุนสนับสนุนที่ได้รับมอบผ่านคณะฯ ความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา สิทธิของอาจารย์

  18. งบประมาณสนับสนุนทุน RPUS1 ~ 10,xxx บาท

  19. RPUS2 • เป็นทุนที่ให้นักศึกษาสายบริหารธุรกิจ การจัดการ พัฒนาแผนธุรกิจ จากผลงานของโครงงาน RPUS 1 ที่ผ่านมาสู่เชิงพาณิชย์ • หรือ พัฒนาแผนธุรกิจจากโครงงานที่สนใจ • แผนธุรกิจสามารถนำเอาไปใช้เองหรือให้ผู้อื่นใช้ ควรแสดงให้เห็นว่า มีความสัมพันธ์กับธุรกิจครอบครัวหรือสามารถได้หุ้นส่วนร่วมจากผู้ลงทุน

  20. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ RPUS2 • ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ - สิ่งคาดหวังโดยตรง • นักศึกษาได้รับการพัฒนา • แผนธุรกิจของโครงงาน RPUS1 สู่เชิงพาณิชย์

  21. ความคาดหวังของ สกว. ที่มีต่อโครงการ RPUS2 • ความสำเร็จที่เป็นผลพลอยได้ - สิ่งคาดหวังโดยอ้อม • อาจารย์สาขาบริหารธุรกิจร่วมมือกับอาจารย์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ในอนาคตเกิดผู้ประกอบการใหม่จากผลงานที่สร้างเอง • เกิดความคิดทำโครงการที่ realistic มากขึ้น

  22. เงื่อนไขและขอบเขตของการสนับสนุน RPUS2 • อาจารย์เจ้าของข้อเสนอ ยื่นขอรับทุน • RPUS2 ได้ไม่เกิน 3 โครงงาน • อาจารย์ปรึกษางานกับเจ้าของผลงาน • เรื่องสิทธิผลประโยชน์ • 1 โครงงานมีนักศึกษาไม่เกิน 2 คน นักศึกษาสายบริหารธุรกิจ • โครงงาน RPUS1 มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ • โครงงานอื่นที่สนใจ • สร้างแผนธุรกิจใช้เองหรือให้ผู้อื่นใช้ • เพื่อสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ แผนควบคุมคุณภาพวิชา หรือประมวลรายวิชา ทุนสนับสนุนที่ได้รับมอบผ่านคณะฯ ความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา สิทธิของอาจารย์

  23. งบประมาณสนับสนุนทุน RPUS2 ~ 50,000 บาท

  24. ขั้นตอนการดำเนินการขอรับทุนอุดหนุน IRPUS + + นักศึกษา อาจารย์ ผู้ประกอบการ IPUS 1&2 + + อาจารย์ นักศึกษาที่ตั้งใจศึกษาต่อ ป.โท RPUS1 มีทุนสำหรับวิจัย + + อาจารย์คณะบริหาธุรกิจ นักศึกษา ผลงาน RPUS1 หรืออื่น ๆ ที่สนใจ RPUS2 สำนักประสานงานโครงการ IRPUS คณบดี (ผู้ได้รับมอบหมาย) คณะที่ได้รับทุน จัดส่งข้อมูลเพื่อจัดทำสัญญา คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จากสถาบันการศึกษา หน่วยราชการ และเอกชน ประกาศโครงงานที่ได้ทุนอุดหนุน IRPUS ทาง http://www.irpus.org • ขอความร่วมมือในการจัดทำข้อเสนอเต็มรูปให้สมบูรณ์ เพื่อการจัดทำสัญญา 250 ทุนที่ต้องอนุมัติพร้อมกัน

  25. ระยะเวลาการรับสมัครขอรับทุนอุดหนุน IRPUS • IRPUS เปิด 2 รอบ • 1 มกราคม 2549 ถึง 15 มีนาคม 2549 • 1 พฤษภาคม 2549 ถึง 15 มิถุนายน 2549

  26. ช่วงเวลาการดำเนินโครงการ IRPUS IPUS IPUS RPUS1 2

  27. สิ่งที่นักศึกษาจะได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ IRPUS • ฝึกฝนตนเองให้แข็งแกร่ง มีความสามารถสูงขึ้น • ความภาคภูมิใจ ในการเข้าร่วมงานแสดงผลงาน • ได้รับการคัดเลือกเข้าแข่งขันโครงการ IRPUS ในระดับประเทศ • ช่วยในการหางาน: สกว.มอบใบรับรองการเข้าร่วมโครงการ • ผู้ที่ได้รับรางวัลในงานแสดงผลงาน จะได้รับใบประกาศเกียรติคุณ • ได้รับประกันอุบัติเหตุนักศึกษา • สามารถนำโครงงานไปแข่งขันที่อื่นต่อได้ โดยระบุว่าได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS เช่น ส่งเข้าแข่งขันในงานนวัตกรรม

  28. สิ่งที่คาดหวังเหนือกว่าความคาดหวังของ IRPUS • นวัตกรรมในการศึกษาที่รวมงานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์เข้ากับการศึกษา • เกิดหลักสูตรการเรียนการสอนใหม่จากประสบการณ์ • เกิดการตั้งโจทย์วิจัยเชิงรุกจากฝ่ายผู้ใช้ และนำผลงานวิจัยไปใช้ได้ • เกิดนวัตกรรมใหม่การทำวิจัยในมหาวิทยาลัย • รวมกลุ่มแบบสหสาขาวิชา • มีเป้าหมายร่วม • Basic Research -> Developed Basic Research -> Research & Development & Engineering งานวิจัยเชิงวิชาการ -> พัฒนาตอบสนองการใช้งาน -> การใช้งานจริง

  29. โปรดศึกษารายละเอียดในการส่งข้อเสนอเต็มรูปจากคู่มือโปรดศึกษารายละเอียดในการส่งข้อเสนอเต็มรูปจากคู่มือ เพื่อประโยชน์ของท่าน สามารถ Download ได้ที่ http://www.irpus.org/download.php

  30. เกณฑ์การคิดคะแนน

  31. เกณฑ์การคิดคะแนน

  32. เกณฑ์การคิดคะแนน

  33. เกณฑ์การคิดคะแนน

  34. ศึกษารายละเอียด ติดตามข่าวสารของโครงการ และส่งข้อเสนอโครงงานได้ที่ http://www.irpus.org

  35. โครงการ IRPUS กำลังรวบรวมฐานข้อมูลนักวิจัย http://www.irpus.org/researcher.php ท่านสามารถสืบค้นข้อมูลนักวิจัยในมหาวิทยาลัย ใส่ข้อมูลของท่านในฐานข้อมูลนี้ด้วยตัวท่านเอง

  36. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ผู้ประสานงานชุดโครงการ IRPUS สำนักประสานงานโครงการ IRPUS หลัก รศ.ดร. วิโรจน์ บุญอำนวยวิทยา / ผู้จัดการโครงการ IRPUS ห้อง CB-50704 (B) ชั้น 7 ตึกอาคารเรียนรวม 5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โทรศัพท์ 024096040, 0 9026 1009 โทรสาร 0 2872 8300 E-mail: ipus@kmutt.ac.th

  37. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ผู้ประสานงานชุดโครงการ IRPUS สำนักประสานงานโครงการ IRPUS สาขา รศ.ดร. กอบบุญ หล่อทองคำ / ผู้จัดการโครงการ IRPUSห้อง 16-05 ชั้น 16 ตึกเจริญวิศวกรรม (ตึก 4) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโทรศัพท์/โทรสาร 0-2250-1191, 0-9026-1120 E-mail: ipus@eng.chula.ac.th

More Related