1 / 35

ELECTRONIC MAIL

ELECTRONIC MAIL. SMTP MIME. KEYTERM. SMTP - Simple Mail Transfer Protocol เป็นมาตรฐาน ในการส่งจดหมายระหว่างเครื่อง host ต่างๆบน TCP/IP protocol MIME - Multipurpose Internet Mail Extensions เป็นมาตรฐานใหม่ที่ออกมา เพื่อแก้ไขปัญหาที่ SMTP ไม่สามารถทำได้. INTRODUCTION.

clemance
Download Presentation

ELECTRONIC MAIL

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ELECTRONIC MAIL SMTP MIME

  2. KEYTERM SMTP - Simple Mail Transfer Protocol เป็นมาตรฐาน ในการส่งจดหมายระหว่างเครื่อง host ต่างๆบน TCP/IP protocol MIME - Multipurpose Internet Mail Extensions เป็นมาตรฐานใหม่ที่ออกมา เพื่อแก้ไขปัญหาที่ SMTP ไม่สามารถทำได้

  3. INTRODUCTION การส่งจดหมายจะมีหลักการ 2 อย่าง คือ 1. ตัวจดหมาย ประกอบด้วย - RFC 822 header ซึ่งเป็นรายละเอียดของผู้รับบนซองจดหมาย - ตัวข้อความในจดหมาย 2. รายการของที่อยู่ปลายทาง ซึ่งสร้างจาก user agent ตาม RFC 822

  4. หลักการส่งจดหมายด้วย SMTP

  5. หลักการส่งจดหมายด้วย SMTP(ต่อ)

  6. ARCHITECTURE AND SERVICES ระบบการจัดการจดหมาย electronic ประกอบด้วยระบบย่อย 2 ส่วน 1. User agents คือโปรแกรมที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำการอ่านและส่งจดหมายได้ 2. Message transfer agent ซึ่งจะทำหน้าที่ย้ายจดหมายจากต้นทางไปยังปลายทาง

  7. ความสามารถในการทำงานพื้นฐานของระบบจดหมาย (email system) 1. Composition 2. Transfer 3. Reporting 4. Displaying 5. Disposition

  8. MAILBOX

  9. MESSAGE ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ - Header ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลสำหรับ user agents - Body คือ ข้อความของจดหมายที่ต้องการส่ง

  10. ตัวอย่าง Message From:United GizmoAddress:180 Main St.Location:Boston,MA 02120Date:Sept 1,1996Subject:Invoice 1081 Message Dear Mr.Dumkopf,Our computer record show that you still have not paid the above invoice of $0.00. Please send us a check for $0.00 promptly. Yours trulyUnited Gizmo

  11. RFC 822

  12. RFC 822 (ต่อ)

  13. ข้อจำกัดในการใช้งาน SMTP และ RFC 822 1. SMTP ไม่สามารถส่ง executable files หรือ file ที่เป็น binary อื่นๆได้ 2. SMTP ไม่สามารถส่ง text file ที่มีภาษาอื่นๆได้ 3. SMTP server จะทำการปฏิเสธจดหมายที่มีขนาดใหญ่เกินไป 4. SMTPgateway ทำการแปลระหว่างตัวอักษร ASCII และ EBCDIC โดยไม่มีชุดของการจับคู่ 5. SMTPgateway ไปยังระบบจดหมาย X.400 ไม่สามารถ จัดการกับข้อความธรรมดา

  14. ข้อจำกัดในการใช้งาน SMTP และ RFC 822(ต่อ) 6. การสร้าง SMTP ด้วยมาตรฐาน RFC 822 จะไม่สามารถทำงานบางอย่าง ได้แก่ - ลบ เพิ่ม หรือบันทึก ตัวอักษร CR (carriage return) และ LF (line feed) - การตัดบรรทัดของข้อมูลที่มีความยาวมากกว่า 76 ตัวอักษร - ไม่สามารถนำตัวอักษร white space ได้แก่ ตัวอักษร tab และ space - การจัดบรรทัดในจดหมาย ให้มีความยาวคงที่ - การแปลงตัวอักษร tab ให้เป็นตัวอักษร space หลายๆตัว

  15. MIME OVERVIEW MIME เป็นส่วนขยายมาจาก RFC 822ซึ่งสามารถแก้ปัญหาข้อจำกัดในการใช้งาน SMTP และ RFC 822ได้ รายละเอียดของ MIME 1. มีเขตข้อมูลใหม่ที่หัวจดหมายเพิ่มมา 5 เขตข้อมูล ได้แก่ - MIME-version - Content-Type - Content-transfer-encoding - Content-id - Content-description

  16. MIME OVERVIEW (ต่อ) 2. รู้จักประเภทของข้อมูลเป็นจำนวนมากขึ้น 3. การเข้ารหัสข้อมูลมีความสามารถมากขึ้น โดยสามารถทำการแปลงข้อมูล จากชนิดหนึ่งเป็นอีกชนิดหนึ่งได้ จากเดิมที่ส่งได้แต่ text ธรรมดาเท่านั้น

  17. MIME Content Types ชนิดของข้อมูลในตัวจดหมายมี 7 ชนิด ซึ่งสามารถแบ่งเป็น subtype โดยทำการขั้นด้วย slash “/” ดังตัวอย่าง Content-Type: video/mpeg

  18. MIME Content Types (ต่อ)

  19. MIME Content Types (ต่อ)

  20. MIMETransfer Encodings มาตรฐาน MIME ได้กำหนดวิธี encode ข้อมูลไว้ โดยใช้เขตข้อมูล Content-Transfer-Encoding ซึ่งจะมีค่าได้ด้วยกัน 6 แบบ นอกจากนั้นจะมีการ encode ด้วยวิธีอื่นที่นิยามเองได้โดย จะใช้ x-token ในการแบ่งประเภทการเข้ารหัส ส่วน quoted-printable เป็นการ encode ที่ให้คนสามารถอ่านได้ และ base64 เป็นวิธี encode เพื่อเป็นความปลอดภัย กับข้อมูลทุกชนิดไว้สามารถส่งได้ถูกต้องและมีขนาดเล็ก

  21. MIMETransfer Encodings

  22. SMTP COMMAND

  23. ตารางคำสั่ง (SMTP COMMANDS)

  24. ตารางคำสั่ง (SMTP COMMANDS) (ต่อ)

  25. SMTP REPLIES SMTP repliesการตอบรับจะเริ่มด้วย ตัวเลขรหัส 3 ตัว และอาจตามด้วยข้อมูลเพิ่มเติม

  26. ตารางตอบรับ (SMTP replies)

  27. ตารางตอบรับ (SMTP replies)(ต่อ)

  28. ตารางตอบรับ (SMTP replies)(ต่อ)

  29. ตารางตอบรับ (SMTP replies)(ต่อ)

  30. ตารางตอบรับ (SMTP replies)(ต่อ)

  31. CONNECTION SETUP SMTP sender จะเป็นผู้ที่ทำการเปิดการเชื่อมต่อ TCP กับ host ปลายทาง เมื่อมีความต้องการ จะส่งจดหมายไปยัง host นั้น โดยมีลำดับการทำงานดังนี้ 1. sender เปิดการเชื่อมต่อด้วย TCP กับ receiver 2. เมื่อทำการเชื่อมต่อเรียบร้อยแล้ว receiver จะตอบรับมาในรู้แบบ "220 Service Ready" 3. sender รายงานตัวเองด้วยคำส่ง HELO 4. receiver ตอบรับ sender ด้วย "250 OK" ถ้าการบริการบนเครื่องปลายทางไม่สามารถทำงานได้จะมีการตอบรับ "421 Service Not Available" ในขั้นตอนลำดับที่ 2 แล้วจบการทำงาน

  32. MAIL TRANSFER 1. ส่งคำสั่ง MAIL เพื่อระบุผู้ส่ง 2. ส่งคำสั่ง RCPT หนึ่งครั้งหรือมากกว่า เพราะว่าจดหมาย 1 ฉบับ สามารถส่งได้พร้อมกัน ไปยัง ผู้รับหลายคน 3. ส่งคำสั่ง DATA และ ส่งข้อมูลในจดหมายไปให้

  33. COMMANDS MAIL command ให้ reverse-path เพื่อใช้ในการรายงานความผิดพลาดต่างๆ RCRT command ใช้เพื่อระบุผู้รับจดหมาย DATA commandเป็นการเริ่มต้นในการส่งข้อความ โดยจะสิ้นสุดการส่ง ด้วยบรรทัดที่มีแต่ตัวอักษรจุดเพียงอย่างเดียว

  34. CONNECTION CLOSING SMTP sender จะปิดการเชื่อมต่อได้ 2 ขั้นตอนด้วยกัน 1. sender ส่งคำสั่ง QUIT และรอการตอบรับจาก receiver 2. ทำการเริ่มปิดการเชื่อมต่อ TCP โดยจะทำหลังจาก receiver ส่งคำตอบรับจากคำสั่ง QUIT ตามข้อ 1 แล้ว

  35. SUMMARY ถึงแม้ว่า SMTP จะเป็น protocol ที่ไม่สามารถรับประกันได้ว่าจดหมายที่ส่งออกไปจะไม่หาย แต่เราก็ยอมรับว่าระบบ มีความ reliable มากพอที่จะทำงานได้ ส่วนในเรื่อง security นั้น ก็สามารถส่งในรูปแบบของ PGP หรือ PEM เพื่อทำการเข้ารหัสข้อมูล ป้องกันข้อมูลของเราได้ ดังนั้นจึงเป็นระบบที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบันและในอนาคตก็คงเป็นเช่นนี้ ถึงจะมีการเปลี่ยนแปลง ก็คงเป็นเรื่องชนิดของข้อมูล และการเข้ารหัสข้อมูลต่างๆ

More Related