1 / 56

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ปีงบประมาณ 255 6 รอบที่ 1 เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ปีงบประมาณ 255 6 รอบที่ 1 เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1. โรงพยาบาลสวนปรุง ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10 สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1.

Download Presentation

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ปีงบประมาณ 255 6 รอบที่ 1 เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ปีงบประมาณ 2556 รอบที่ 1เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 โรงพยาบาลสวนปรุง ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10 สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต

  2. เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1

  3. สถานการณ์ด้านสุขภาพจิต คะแนนความสุขและอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 1

  4. จำนวนและอัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพจิตและจิตเวชของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ที่มา: ศูนย์สุขภาพจิตที่1-15

  5. การดำเนินงานขับเคลื่อนนโยบายในพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 • คณะทำงานเครือข่ายบริการที่ 1 • นายแพทย์ศิริศักดิ์ ธิติดิลกรัตน์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสวนปรุง ประธาน • นายแพทย์มนตรี นามมงคล ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 10 รองประธาน • ร่วมเป็นคณะกรรมการในคณะกรรมการสุขภาพในระดับพื้นที่ • นายแพทย์ปริทรรศ ศิลปะกิจ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลสวนปรุง คณะกรรมในคณะทำงานพัฒนาระบบสุขภาพจิตและจิตเวชเครือข่ายบริการที่ 1 และ จังหวัดเชียงใหม่ • การดำเนินงานขับเคลื่อนตาม • กลุ่มวัย • กลุ่มพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช • กลุ่มวิกฤติสุขภาพจิต

  6. คณะทำงานเครือข่ายบริการคณะทำงานเครือข่ายบริการ สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดย • ประชุมชี้แจงพื้นที่ถึงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในรูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพ • สนับสนุนให้มีคณะกรรมการ/คณะทำงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาจิตเวชในระดับเขตและจังหวัด • สนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาจิตเวช • การพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล • การพัฒนาคุณภาพบริการในกลุ่มโรคที่เป็นปัญหา • การกำหนดบทบาทและการส่งต่อในเขต

  7. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดยสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดย • GAP Analysis ร่วมกับพื้นที่ เพื่อวิเคราะห์ถึงส่วนที่ต้องการพัฒนา เพื่อบริการคุณภาพในแต่ละพื้นที่ • การเข้าถึงบริการ/ข้อจำกัดของสถานบริการ&ทรัพยากร • สมรรถนะการวินิจฉัยและการรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในเด็กและวัยรุ่น • องค์ความรู้ MCATT • สนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับ รพศ. รพท.รพช.และรพ.สต. โดยเริ่มจากการประเมินตนเองของสถานบริการแต่ละระดับ

  8. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดยสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดย • โครงการอบรมระบบการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตในวัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยสูงอายุ • 11 – 13 ก.พ. 2556 • 17 – 19 มิ.ย. 2556 • อบรมหลักสูตรพยาบาลจิตเวช( PG 4 เดือน ) • อบรมฟื้นฟูหลักสูตรพยาบาลจิตเวช( Refreshing PG ) • 27 ก.พ. – 1 มี.ค. 2556

  9. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดยสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดย • อบรมหลักสูตร นักวิชาการสาธารณสุข 5 วัน • จังหวัดเชียงใหม่ 4 – 8 มี.ค. 2556 • อบรม MCATT • 8 จังหวัด • จังหวัดเชียงใหม่และพะเยา ;29 ม.ค. 2556 • จังหวัดน่านและแพร่ ;13 ก.พ.2556 • อบรมเภสัชกรด้านจิตเวช • การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางานสุขภาพจิตและจิตเวช ระดับพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 : 9 ก.ค.2556

  10. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดยสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดย ศูนย์สุขภาพจิตที่ 10 ได้ดำเนินการพัฒนาเครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข • โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพจิตในกรมราชทัณฑ์ • อบรมทักษะการให้คำปรึกษาเบื้องต้น ให้กับผู้ต้องขัง ชั้นดี 4 จังหวัด คือ พะเยา,แพร่,น่าน และ แม่ฮ่องสอน จังหวัดละ 40 คน รวม 160 คน • โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพจิต ในกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 32 • ปี 2555 : จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน แพร่ และ แม่ฮ่องสอน และในพื้นที่ จังหวัดเชียงราย,พะเยา,ลำปาง • ปี 2556 : จังหวัดน่าน • โครงการรณรงค์ขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยสื่อพื้นบ้าน • ตั้งแต่ปี 2555 - ปี 2556 ขยายเครือข่ายการเข้าถึงสื่อในกลุ่มเครือข่ายวิทยุชุมชน อปท. เครือข่ายสาธารณสุข สถาบันการศึกษา สถานประกอบการ ฯลฯ จำนวน 900 แห่ง ใน 8 จังหวัดภาคเหนือ • โครงการศึกษาปัญหาการฆ่าตัวตายในชุมชน พื้นที่จังหวัดเชียงราย • อยู่ในกระบวนการวิเคราะห์และประมวลผล

  11. สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดยสนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่โดย สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ • การสนับสนุนวิทยากรให้กับเครือข่าย • ความรู้ทางจิตเวชในเด็กและวัยรุ่น และการดูแล • การคัดกรองพัฒนาการด้ายเครื่องมือ TDSI และการส่งเสริมพัฒนาการ • โรคทางกายในเด็ก • การนิเทศน์ติดตามงาน • โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กล้านนา LCDIP ( Lanna Child Development Integration Project) • โครงการการส่งเสริมความรู้ ทัศนคติและทักษะครูโรงเรียนประถม ในการดูแลพฤติกรรมและการใช้ยาในเด็กโรคสมาธิสั้น • โครงการพัฒนาโปรแกรมระบบส่งต่อข้อมูลผู้ป่วย (Referral center)

  12. นิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง ปีงบประมาณ 2556 รอบที่ 1

  13. กำหนดการนิเทศงานเครือข่ายบริการที่ 1คณะทำงานเครือข่ายบริการที่ 1

  14. การนิเทศงานกรณีปกติ • คณะที่ 1 : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค (ตามกลุ่มวัย) • วัยรุ่น วัยเรียน • ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน • ผู้สูงอายุ ผู้พิการ • การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า • คณะที่ 2: การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ • การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) • การพัฒนาระบบบริการสาขาจิตเวช • การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน • ทีม MCATT คุณภาพ

  15. การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค : กลุ่มวัยเด็ก สตรี ตัวชี้วัด • ร้อยละของ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) (101) • ร้อยละของสถานบริการจัดระบบบริการคลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC คุณภาพ) ไม่น้อยกว่า70 (110) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนา รพช. ในพื้นที่มีบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ใน Well child ตามเกณฑ์ ที่กำหนด (ระดับ 3)

  16. ผลการดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเด็ก • สรุปผลการประเมินตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน Well Child Clinic สำหรับ รพช. • จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ (ระดับ 3) ทุกด้าน 46 แห่ง(ทั้งหมด 90 แห่ง) คิดเป็น 51% • ด้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์ (ระดับ 3) • การส่งเสริมพัฒนาการ 41.05% • การส่งเสริมป้องกัน 25.26% • ระบบยา 23.16% การติดตามดูแล 16.84% • การตรวจวินิจฉัย 12.63% • ด้านสถานที่ 11.58% • การส่งต่อ 2.11%

  17. ผลการดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเด็ก • ปัญหาและอุปสรรค • การใช้เครื่องมือประเมิน และกระตุ้นพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี (TDSI 300 ข้อ) : ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก รู้สึกเป็นการเพิ่มภาระงาน • เครื่องมือมีราคาแพง • บุคลากรที่รับผิดชอบงานบางคน ไม่ผ่านการอบรมในเรื่องการดูแลปัญหาสุขภาพจิตในวัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยสูงอายุ ทำให้ไม่สามารถใช้เครื่องมือที่จำเป็น หรือให้การดูแลทางสังคม psychosocial clinic ได้ • ความต้องการสนับสนุน • เครื่องมือกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก • แนวทางแก้ไข

  18. ผลการดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น ตัวชี้วัด • ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ (ไม่น้อยกว่า 70) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนา รพศ/รพท.ในพื้นที่ให้มีบริการสุขภาพจิต และจิตเวชเด็ก และวัยรุ่น ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ระดับ3 ทุ่กด้าน) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนา TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER ในโรงเรียน(สถานศึกษา)ให้มีคุณภาพและมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เชื่อมโยงกับสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ • จากการประเมินตนเองก่อนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบ บริการสุขภาพจิตเด็ก และวัยรุ่น พบว่า รพศ. และรพท. ทั้ง 8 แห่ง มีการประเมินตนเองผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ทุก ด้าน คิดเป็นร้อยละ 100 และ มีแผนในการพัฒนาเพื่อยกระดับให้เป็นระดับ 2 และระดับ 1

  19. ผลการดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น • มีการดำเนินงานศูนย์ให้คำปรึกษา ที่บูรณาการเข้ากับงานคลินิกวัยรุ่น ของโรงพยาบาลเป็นการขับเคลื่อนที่มีขั้นตอนการดำเนินงาน ที่หลายแห่งกำลังอยู่ระหว่างการประเมินผลตามเกณฑ์คุณภาพ และมีการบูรณาการกับการประเมินรับรองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ กรณีที่เป็นโรงพยาบาลเดียวกัน เพื่อลดปัญหาความซ้ำซ้อน แฃะเวลาดำเนินงาน รวมทั้งกิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นตามแนวทางของ TO be Number one • ทุกจังหวัดได้มีการบูรณาการในรูปแบบบูรณาการด้านสุขภาพวัยรุ่น กับความสวยงาม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ บุหรี่ แอลกอฮอล์ คลินิกจิตเวช และเชื่อมระบบงาน OSCC ( One Stop Crisis Center) • ทุกจังหวัดมีการชี้แจงนโยบาย และแนวทางกานดำเนินงาน เพื่อเป็นรูปแบบในแต่ละอำเภอให้มีบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น และมีการดำเนินการใช้ SRM เป็นกระบวนการดำเนินงาน • การดำเนินงานในกลุ่มวัยรุ่นจังหวัดลำปาง เกิดการบูรณาการแผนวัยรุ่น (ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน การดำเนินงานในกลุ่มที่อยู่ในภาวะเปราะบาง การดำเนินงานคลินิกวัยรุ่น) ร่วมภาคีเครือข่ายภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และเกิดเครือข่ายในแต่ละ Setting เพิ่มขั้นรวมถึงสามารถจัดทำแผน เพื่อพัฒนาตามส่วนขาดได้ชัดเจนขั้น

  20. จำนวนโรงพยาบาลที่ได้รับการประเมินรับรองผ่านเกณฑ์มาตรฐานสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น (Youth Friendly Health Services; YFHS), จำนวนโรงเรียนในสังกัด สพม.ที่มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเข้มแข็ง และโรงเรียนที่มีชมรม TO BE NUMBER ONE ต้นแบบ, ดีเด่น ผ่านประเมินรับรอง YFHS จำนวน 6 แห่ง คิดเป็น 6.18 %ข้อมูล ณ วันที่ 17 เมษายน 2556

  21. ผลการดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น • ปัญหาและอุปสรรค • เวทีคืนข้อมูลเกี่ยวกับวัยรุ่นในทุกระดับยังมีน้อย • การติดตาม กำกับ ประเมินผลการดำเนินงาน • การเข้าถึงบริการ • ความต้องการสนับสนุน • การเพิ่มองค์ความรู้ในการพัฒนาเครือข่ายในการขับเคลื่อนงาน • แนวทางการให้คำปรึกษาปัญหาในปัญหาต่างๆ เช่น ตั้งครรภ์ไม่พร้อม

  22. ผลการดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น • ข้อเสนอแนะ • การฟื้นฟูองค์ความรู้ในการพัฒนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานวัยรุ่นวัยเรียน • บูรณาการกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเชิงรุก • ปัจจัยของความสำเร็จ • การบูรณาการ : YFHS(กรมอนามัย) • การบริการเชิงรุก

  23. Psychosocial Clinic คุณภาพ • การมีบริการ Psychosocial care ใน Teenage Pregnancy/ท้องไม่พร้อม, HIV/std, Substance&Alcohol, Violent + เชื่อมโยงกับโรงเรียน (บูรณาการกับงานอนามัยโรงเรียน & เชิงรุก)

  24. การดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยทำงาน/ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ ตัวชี้วัด • ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) (137) • ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) (207) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนาคลินิก NCD/คลินิกสูงอายุใน รพช.ให้มีบริการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ

  25. การดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยทำงาน/ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ • จัดอบรมดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตในวัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยสูงอายุ :ความรู้ในประเด็นสุรา ยาเสพติด ความรุนแรงในครอบครัว และฝึกทักษะการใช้แบบคัดกรอง/ประเมิน 2Q,9Q,8Q ,AUDIT,ASSIST,แบบประเมินความเครียด และแนวทางการช่วยเหลือ เพื่อให้เกิดบริการดูแลทางสังคมจิตใจ • ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตหรือผู้ให้บริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผ่านการอบรมระบบดูแลเผ้าระวังโรคซึมเศร้าในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 จำนวน 648 หน่วยงาน คิดเป็นร้อยละ 54.05

  26. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) 1 จังหวัดน่านและจังหวัดแพร่ ; 4 เดือน จังหวัดลำพูนและจังหวัดพะเยา ; 6 เดือนจังหวัดลำปาง ; 8 เดือน ข้อมูลจากฐานข้อมูลของจังหวัด

  27. การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ข้อมูลจากศูนย์โรคซึมเศร้าไทย ณ วันที่ 11 มกราคม 2556

  28. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) • 8 จังหวัด มีการดำเนินการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ตั้งแต่ระดับ • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล • โรงพยาบาลชุมชน • โรงพยาบาลศูนย์ /โรงพยาบาลทั่วไป • +ชุมชน • ยังไม่มีการ monitor & evaluationระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าในสถานพยาบาลแต่ละระดับที่ชัดเจน

  29. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า แนวทางเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า : 5 กิจกรรมหลัก 1) การคัดกรองเพื่อค้นหาผู้มีแนวโน้มมีอาการของโรคซึมเศร้า 2) การประเมินความรุนแรงของอาการซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย ในผู้ป่วยภาวะซึมเศร้า 3) การวินิจฉัยโรค 4) การรักษาและดูแลตามระดับความรุนแรงของอาการ 5) การติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ

  30. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า • ปัญหาและอุปสรรค์ หลายจังหวัดมีการดำเนินการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า แต่ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการยังไม่เป็นตามเกณฑ์ เช่น จังหวัดลำปาง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแพร่ จังหวัดเชียงราย อาจเกิดจาก • คุณภาพและความครอบคลุมของกระบวนการ (การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติยังทำได้ไม่ครอบคลุม) • การลงรหัสโรค การส่งต่อ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอาจมีการคลาดเคลื่อน (รวมทั้งความเข้าใจของผู้เกี่ยวข้อง) • ข้อมูลของจังหวัดไม่ได้รวมข้อมูลจากโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลเอกชน • ทัศนคติของบุคลากร

  31. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า • การบันทึกหรือการรายงานอาจไม่ครบถ้วน หรือมีความเข้าใจคาดเคลื่อน ทำให้ข้อมูลหรือสถิติอาจมีความคลาดเคลื่อน(ข้อมูลที่ได้ยังต่างกัน จากแต่ละหน่วยงานในจังหวัด) แม้ในจังหวัดที่มีร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการตามเกณฑ์ เช่น จังหวัดลำพูน จังหวัดพะเยา • อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าบางพื้นที่ เช่น อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา น่าจะต่ำกว่าความเป็นจริง พบจากอำเภอเมืองมีผู้ป่วยที่ได้รับวินิจฉัยเป็นโรคซึมเศร้าปี 2556 ( 6 เดือน ) เพียง 30 คน ทางพื้นที่ได้แสดงความคิดเห็นเบื้องต้นว่า อาจเกิดจากการลงบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ปัญหาการลงรหัสการวินิจฉัยตามระบบ ICD 10 การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าเป็นวินิจฉัยรอง การดึงข้อมูลไปวิเคราะห์อาจมีความเข้าใจคลาดเคลื่อน

  32. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า • โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป การให้บริการโรคซึมเศร้าในโรงพยาบาลส่วนใหญ่ยังเป็นงานเชิงตั้งรับ • การลงข้อมูลใน 21 แฟ้ม ไม่ครบทุกแฟ้ม ผู้ป่วยรายนั้นหากได้รับการวินิจฉัย การดึงไปใช้อาจไม่ปรากฏ ซึ่งทำให้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือน้อยกว่าความเป็นจริง

  33. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ข้อเสนอแนะ • การที่แพทย์และบุคลากรผู้ปฏิบัติงานโรงพยาบาลชุมชนมีองค์ความรู้ มีความมั่นใจ โดยผ่านระบบพี่เลี้ยงทำให้สามารถให้บริการได้ • การทำความเข้าใจกับบุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับตัวชี้วัด (ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ) ถึงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายและการดำเนินการเพื่อบรรลุถึงตัวชี้วัด ให้เข้าใจตรงกันเป็นสิ่งจำเป็น • ผลักดันด้านนโยบาย มีแผนดำเนินการที่ชัดเจนโดยผ่านการเห็นชอบจากผู้บริหาร และการปรับทัศนคติของบุคลากร เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญของความสำเร็จ • ควรนำระบบการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าลงสู่การปฏิบัติโดยการบูรณาการเข้ากับงานประจำ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง เช่น คลินิกสูงอายุ, NCD, ANC หรือคลินิกทั่วไป โดยเฉพาะในโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป

  34. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ข้อเสนอแนะ • ทบทวนระบบการบันทึก/รายงานข้อมูล ระบบจัดเก็บฐานข้อมูลและวิเคราะห์ประเมินผลตลอดจนความเที่ยงตรงของข้อมูล • ทางจังหวัดควรทบทวนและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบในแต่ละพื้นที่ ในสถานบริการแต่ละระดับและแต่ละแห่งถึงสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย(ในแต่ละอำเภอของแต่ละจังหวัด อัตราการเข้าถึงบริการแตกต่างกันค่อนข้างมาก) • ในการพัฒนาที่สำคัญต่อไป ควรเน้นการ monitor & evaluation ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าในสถานพยาบาลแต่ละระดับ เพื่อจะบอกถึงคุณภาพของบริการดังกล่าว ( ทบทวนการปฏิบัติตามแนวทางเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ติดตามประเมินผลในแต่ละกิจกรรม

  35. การเข้าถึงบริการ ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) • ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หมายถึง ประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคซึมเศร้าทั่วไป ที่อายุ 15 ปีข้นไป ไม่ได้จำกัดเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ • สูตรคำนวณ ( A/B ) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ F32,F33,F34.1 (คิด F32.*,F33.*ทั้งหมด)และ F38,F39 B = จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าคาดประมาณจากความชุกที่ได้จากการสำรวจ • ผลการสำรวจทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตปี 2551 ของกรมสุขภาพจิต พบอัตราความชุกผู้ป่วยโรคซึมเศร้าของในภาคเหนือ เท่ากับ ร้อยละ 2.3 • จำนวนประชากรกลางปี ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป

  36. การดำเนินงานตามกลุ่มวัย : กลุ่มวัยทำงาน/ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ • ความต้องการได้รับการสนับสนุน • คู่มือแนะทางการดูแลทางสังคมจิตใจสำหรับ รพช. รพท. รพศ. ปี 2556 ANC,NCD,คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ • การมีบริการ Psychosocial care : intregrate • คัดกรอง Depression / Alcohol • Intervention : เช่น ส่งเสริมป้องกัน ใน กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน

  37. การพัฒนาทีมทีม MCATTในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 ตัวชี้วัด • ร้อยละของอำเภอที่มีทีม MCATT คุณภาพ (เท่ากับ 80) (211) • ความสำเร็จในการจัดตั้งและพัฒนาทีม MCATT ให้มีคุณภาพ

  38. ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีทีม MCATTคุณภาพ (เท่ากับ 80) • มีการเตรียมความพร้อมในการรองรับภาวะฉุกเฉิน หรือสาธารณภัยด้านการแพทย์ และสาธารณสุข โดยมีการจัดตั้งทีมและมีคำสั่งแต่งตั้งทีม MCATT อย่างชัดเจน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ พะเยา และแม่ฮ่องสอน • มีแผนการประเมินตนเองตามมาตรฐานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของกรมสุขภาพจิต ทั้ง 3 มาตรฐาน • จังหวัดเชียงรายและน่านกำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการให้มีคำสั่งแต่งตั้งทีม • ผู้รับผิดชอบผ่านการอบรมความรู้เรื่องการพัฒนาศักยภาพทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤติ จากหลักสูตรของกรมสุขภาพจิตครบทั้ง 8จังหวัดจำนวน 410 คน • มีคู่มือการปฏิบัติงาน มีแผนปฏิบัติการและซ้อมแผนร่วมกับจังหวัด โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยให้การช่วยเหลือทางกายของจังหวัด เช่น DMAT, SRRT, PHER

  39. ทีม MCATTคุณภาพ มาตรฐานทีม MCATT • มาตรฐานที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ • ด้านการบริหารทีมงาน • ด้านวิชาการ • ด้านการเตรียมความพร้อม • มาตรฐานที่ 2 ด้านการปฏิบัติงาน • มาตรฐานที่ 3 ด้านการติดตามประเมินผล

  40. การพัฒนาทีมทีม MCATTในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 • ปัจจัยความสำเร็จ • มีตัวชี้วัดระดับกระทรวงให้จัดตั้งทีม MCATT ในระดับจังหวัดและอำเภอเพื่อปฏิบัติงานควบคู่กับหน่วยให้การช่วยเหลือทางกาย • ทีม MCATT ของจังหวัดและอำเภอทำงานโดยบูรณาการร่วมกับทีมสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉินในจังหวัด โดยทำหน้าที่ในการเยียวยาจิตใจ และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง

  41. ปัญหาอุปสรรค • มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตของจังหวัดบางจังหวัดทำให้ขาดความต่อเนื่องในการทำงาน ผู้รับผิดชอบใหม่อยู่ระหว่างการเรียนรู้งานสุขภาพจิตทำให้การดำเนินงานล่าช้า • บางอำเภอมีการโยกย้ายแพทย์ซึ่งเป็นคณะกรรมการทีม MCATT ทำให้ต้องจัดทำคำสั่ง แต่งตั้งใหม่ • ผู้รับผิดชอบไม่ได้ให้ความสำคัญกับทีม MCATT เนื่องจากอยู่ในพื้นที่ไม่เคยเกิดภัยพิบัติ • ความต้องการได้รับการสนับสนุน • คู่มือการปฏิบัติงานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตและมาตรฐานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตแก่ทีม MCATT ในพื้นที่

  42. ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีทีม MCATTคุณภาพ (เท่ากับ 80) ข้อเสนอแนะ • ควรมีการประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการปฏิบัติงาน และด้านการติดตามประเมินผล เรื่องที่ผู้นิเทศงานรับไว้เพื่อดำเนินการต่อ • สนับสนุนการอบรมทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต โดยหลักสูตรของกรมสุขภาพจิต

  43. การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ตัวชี้วัด • ระดับความสำเร็จในการพัฒนา รพศ./ รพท./ รพช . ให้มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชทั่วไปที่มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด • ร้อยละ 20 ของ รพศ./ รพท. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพมาตรฐาน(ผ่านเกณฑ์ระดับที่ 1) • ร้อยละ 70 ของ รพช.ในแต่ละเครือข่ายบริการมีการมีการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีคุณภาพมาตรฐาน(ผ่านเกณฑ์ระดับที่ 3) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนาเครือข่ายระดับอำเภอให้มีความเข้มแข็งในการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน

  44. การจัดระดับสถานบริการในเขตบริการที่ 1

  45. การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช • ในเขตบริการสุขภาพที่1 มีสถานบริการสาธารณสุขที่มีการพัฒนาได้แก่ รพศ. 3 แห่ง รพท. จำนวน 6 แห่ง รพช. จำนวน 92 แห่ง • จัดโครงการสัมมนาเครือข่ายผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตในระบบสาธารณสุข เพื่อดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 • ได้นำแบบประเมินตนเองในด้านต่างๆ ทั้ง 3 ด้าน ให้แก่โรงพยาบาลที่ เข้าร่วมโครงการ ประเมินตนเอง

  46. การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช • ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินตนเองของสถานบริการที่อยู่ในระบบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ./ รพท./ รพช. และ รพ.สต.ปีงบประมาณ 2556 ในรอบ 6 เดือนแรก • รพศ./รพท. 9 แห่ง • มีการพัฒนาผ่านระดับ 3 ทั้งหมด • มีการพัฒนาผ่านระดับ 1 จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ รพ.น่าน, รพศ.ลำปาง • รพช. 92 แห่ง • มีการพัฒนาผ่านระดับ 3 ทั้งหมด • มีการพัฒนาผ่านระดับ 1 จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ รพ.เชียงของ, รพ.แจ้ห่ม, รพ.ป่าซาง • ระบบยา ยังคงเป็นระบบสำคัญที่กรมสุขภาพจิตควรจะมีบทบาท ในการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา ในสถานบริการทุกระดับ

  47. การพัฒนาระบบบริการสาขาจิตเวช (Service Plan)เขตบริการสุขภาพที่ 1 • จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสาขาจิตเวช ในระดับเขตและจังหวัด • จัดทำแผนการพัฒนาระบบบริการสาขาจิตเวชระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ.2556-2560) • แผนการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข การฆ่าตัวตาย ปัญหาการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยกลุ่มโรคจิต ปัญหาโรคทางจิตเวชที่เกิดจากการใช้ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 2. แผนพัฒนาระบบบริการเพื่อแก้ไขปัญหาสำคัญ 3. แผนการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชลงสู่โรงพยาบาลชุมชน และรพ.สต.

  48. กรอบอัตรากำลังผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชกรอบอัตรากำลังผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวช www.themegallery.com

More Related