1 / 121

การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ

การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ. ดร. ชนาธิป ทุ้ยแป สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. การประเมินในระบบการศึกษาไทย. PISA & TIMSS. การประเมินระดับนานาชาติ. การประเมินระดับชาติ. ONET & NT. การประเมินระดับเขตพื้นที่. LAS. การประเมินระดับสถานศึกษา.

Download Presentation

การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ ดร.ชนาธิป ทุ้ยแปสำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

  2. การประเมินในระบบการศึกษาไทยการประเมินในระบบการศึกษาไทย PISA & TIMSS การประเมินระดับนานาชาติ การประเมินระดับชาติ ONET & NT การประเมินระดับเขตพื้นที่ LAS การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินภายใน&ภายนอก การทดสอบในชั้นเรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การทดสอบระดับชั้นเรียน

  3. ประเมินทุก 3 ปี OECD การอ่าน PISA 65 ประเทศ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เขตเศรษฐกิจ นร.อายุ 15 ปี

  4. การสอบ PISA 2015 เป็นการสอบที่นักเรียนต้องทำแบบทดสอบโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์

  5. ลักษณะการตอบคำถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการสอบลักษณะการตอบคำถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการสอบ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์จึงเป็นสิ่งจำเป็นในการทำแบบทดสอบของ PISA 2015 พิมพ์คำตอบ คลิกเลือกคำตอบ ใช้เมาส์ลากและวางคำตอบ คลิกเลือกคำตอบ

  6. การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) กับ การทดสอบในชั้นเรียน (Classroom Assessment) ในปัจจุบัน - ข้อสอบเลือกตอบ - ข้อสอบเขียนตอบ การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) Free content Based assessment (เนื้อหาทั่วไป) - ข้อสอบเลือกตอบ การทดสอบระดับชั้นเรียน(Classroom) content Based assessment (เนื้อหาตามตัวชี้วัด)

  7. ข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปีข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปี ปีที่เริ่มใช้ ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้น ป.2, 4-5 และ ม.1-2 ภาษาไทย ป.2 กลุ่มสาระ ป.4-5 ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / สังคมศึกษาฯ / ภาษาต่างประเทศ ม.1-2

  8. ระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลางระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลาง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน คะแนนสอบปลายภาค - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลาง (สพฐ.) (20 %) ข้อสอบของโรงเรียน/ เขตพื้นที่ (80 %)

  9. O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง สอดคล้อง L (Learning) การจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน E (Evaluation) การประเมินอิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง

  10. องค์ประกอบที่ 1เป้าหมายการเรียนรู้ (Objective)

  11. มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

  12. มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน • จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน • ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน • .............. • มีมารยาทในการอ่าน ภาษาไทย ม.1

  13. มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล • ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ และคำชี้แจงง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน • อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน และบทร้อยกรอง (poem) สั้นๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน • เลือก/ระบุประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information) ที่อ่าน • .......... อังกฤษ ม.1

  14. มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา • ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม • ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม • ......... คณิต ม.1-3

  15. องค์ประกอบที่ 2การจัดการเรียนรู้ (Learning)

  16. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้การจัดทำหน่วยการเรียนรู้

  17. หลักสูตรเดิม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละแผน เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละแผน เน้น เน้น เนื้อหา มฐ./ตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตร 51

  18. ลักษณะพฤติกรรม ของมาตรฐานและตัวชี้วัด • - ความรู้ • - ทักษะกระบวนการ • - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การจัด การเรียนรู้ ในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ สอดคล้อง

  19. องค์ประกอบที่ 3การวัดและประเมินผล (Evaluation)

  20. ขั้นตอนการสร้างข้อสอบขั้นตอนการสร้างข้อสอบ กำหนดกรอบในการประเมิน วิเคราะห์มาตรฐาน แผนผังแบบสอบ การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ/แบบสอบ นำข้อสอบทดลองใช้ เขียนข้อสอบ ปรับปรุง/บรรณาธิการกิจ ข้อสอบ/แบบสอบ ตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา การตรวจสอบภาษา/ ความถูกต้องตามหลักการวัดผล นำข้อสอบไปใช้/ เก็บเข้าคลังข้อสอบ

  21. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน

  22. มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่ต้องการแสดง

  23. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3

  24. การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้)การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้) มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

  25. การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)

  26. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบแบบปรนัย -การทดสอบแบบอัตนัย -การตรวจสอบผลงาน -การตรวจการบ้าน -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)

  27. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)

  28. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การรายงานตนเอง -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -การสนทนากลุ่ม/สังคมมิติ -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การตรวจสอบประวัติ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)

  29. วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน (แบบทดสอบ) ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) องค์ความรู้ตามตัวชี้วัด ถาม ถาม ถาม ทักษะกระบวนการ(Process Skill) ขั้นตอน/วิธีการ/หลักการ/กระบวนการตามตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute) พฤติกรรมที่แสดงออก ตามตัวชี้วัด

  30. การทดสอบ • การสัมภาษณ์ • การสังเกตพฤติกรรม • การตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ วิธีการในการวัด และประเมินผล วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล • แบบทดสอบ • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกตพฤติกรรม • แบบบันทึกผลการตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ เครื่องมือในการวัดและประเมินผล

  31. การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)

  32. รูปแบบข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์- แบบเลือกตอบ- แบบเขียนตอบ

  33. คำตอบเดียว หลายคำตอบ เชิงซ้อน กลุ่มคำตอบสัมพันธ์ เลือกตอบ ตัวชี้วัด เขียนตอบ แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ

  34. Bloom Taxonomy’s Revised

  35. การจำ (Remembering) ผู้เรียนสามารถจำ บอกซ้ำได้และบอกความรู้ที่ได้เรียนรู้แล้วได้

  36. ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจำมีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจำมีดังนี้

  37. ความเข้าใจ (Understanding) ผู้เรียนอธิบายความหมายของสารสนเทศ โดยการแปลความ ตีความหมาย และขยายความ สิ่งที่เคยเรียน

  38. ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเข้าใจมีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเข้าใจมีดังนี้

  39. การประยุกต์ใช้ (Applying) นักเรียนใช้ความรู้และประสบการณ์จากที่เคยเรียนมาก่อนไปใช้ในการ ลงมือปฏิบัติหรือแก้ไขปัญหา การจัดการ การคำนวณ การคาดคะเนเหตุการณ์

  40. ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกต์ใช้มีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกต์ใช้มีดังนี้

  41. การวิเคราะห์ (Analysing) ผู้เรียนย่อยความรู้หรือข้อมูลสารสนเทศออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศนั้นอย่างลึกซึ้ง

  42. ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับวิเคราะห์มีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับวิเคราะห์มีดังนี้

  43. การประเมินค่า (evaluating) ผู้เรียนสามารถตรวจสอบ อภิปรายตัดสินใจ วิพากษ์วิจารณ์ คัดเลือก หรือประเมินค่าอย่างสมเหตุสมผลและน่าเชื่อถือ

  44. ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินค่ามีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินค่ามีดังนี้

  45. การสร้างสรรค์ (Creating) ผู้เรียนสามารถออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ทำนาย สร้างสูตร จินตนาการสิ่งใหม่ๆ โดยใช้ประสบการณ์เดิมเป็นฐานคิด

  46. ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสร้างสรรค์มีดังนี้

  47. ข้อสอบเขียนตอบ ข้อสอบเลือกตอบ

  48. รูปแบบข้อสอบเลือกตอบ

  49. 1. แบบคำตอบเดียว (multiple choice) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว

More Related