1 / 49

บทที่ 2 แบบจำลองเศรษฐกิจ มห ภาคของสำนักคลาส สิค : Classical Economics School

บทที่ 2 แบบจำลองเศรษฐกิจ มห ภาคของสำนักคลาส สิค : Classical Economics School. ดุลยภาพตลาด. Aggregate demand: Aggregate supply: Equilibrium:. รายได้ประชาชาติ. ผลตอบแทนแก่ทุน. ผลตอบแทนแก่แรงงาน. การหาขนาดรายได้. รายได้แรงงาน =. ผลตอบแทนแก่ทุน =.

ciel
Download Presentation

บทที่ 2 แบบจำลองเศรษฐกิจ มห ภาคของสำนักคลาส สิค : Classical Economics School

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคของสำนักคลาสสิค: Classical Economics School

  2. ดุลยภาพตลาด • Aggregate demand: • Aggregate supply: • Equilibrium:

  3. รายได้ประชาชาติ ผลตอบแทนแก่ทุน ผลตอบแทนแก่แรงงาน การหาขนาดรายได้ รายได้แรงงาน = ผลตอบแทนแก่ทุน = ถ้าสมการการผลิตมี constant returns to scale ดังนั้น

  4. หลักการแนวคิดของสำนักคลาสสิคหลักการแนวคิดของสำนักคลาสสิค หลักการใหญ่คือ มีความเชื่อในเรื่องการปรับตัวโดยธรรมชาติของตลาดเพื่อรักษาดุลยภาพการจ้างงานเต็มที่(Actual output = Potential Output) ต้นกำเนิดของสำนักคลาสสิค คือการออกมาเสนอความคิดขัดแย้งกับแนวคิดของ สำนักพาณิชย์นิยม (Mercantilism)—ศตวรรษที่ 16-17 ที่เชื่อในเรื่องการสะสมความมั่งคั่งของประเทศที่จะเป็นการนำไปสู่การพัฒนา

  5. ความเชื่อของสำนักพาณิชย์นิยมความเชื่อของสำนักพาณิชย์นิยม • Bullionism: ความเชื่อที่ว่าความมั่งคั่งและพลังงานของชาติมาจากการสะสมธาตุหรือสินทรัพย์มีค่า เช่น เงิน ทองที่เชื่อว่าความมั่งคั่งของประเทศเกิดจากการสะสมทุนจากทรัพย์สินมีค่าต่างๆ เพื่อนำมาสร้างสินค้าและทำให้ต้องส่งออก มากกว่าการนำเข้า เพื่อให้ได้สินทรัพย์เพิ่มขึ้น • มีความเชื่อในบทบาทของรัฐในการพัฒนาไปสู่ระบบทุนนิยม ข้อโต้แย้งของสำนักคลาสสิค • เชื่อว่าปัจจัยที่แท้จริง (Real Factors) เป็นตัวกำหนดความมั่งคั่งของชาติ (Wealth of Nations) และเงินเป็นเพียงสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน • เชื่อในบทบาทของตลาดเสรี และไม่ไว้วางใจบทบาทของรัฐบาล ระบบตลาดทำหน้าที่ในการกระจายสินค้าที่ผลิตสินค้า ปริมาณสินค้าที่ผลิตจะสร้างความต้องการของตัวเอง (Say’s Law)

  6. หลักความคิดของสำนักคลาสสิคหลักความคิดของสำนักคลาสสิค • เน้นบทบาทของปัจจัยที่แท้จริง (มากกว่าปัจจัยที่เป็นตัวเงิน) ในการกำหนดตัวแปรแท้จริง คือปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี เป็นต้น • ให้ความสำคัญการปรับตัวด้วยตนเองของระบบเศรษฐกิจ ดังนั้นนโยบายรัฐเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็นและอาจเป็นผลเสียมากกว่าผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ Aggregate Demand and Supply - ศึกษาวิเคราะห์การกำหนดระดับราคาโดยทั่วไป(เงินเฟ้อ) และ ระดับรายได้ในระบบเศรษฐกิจ - ในระบบเศรษฐกิจของสำนักคลาสสิค จะวิเคราะห์บทบาทของเงินในการกำหนด AD ซึ่งมีผลต่อการกำหนดระดับราคาเท่านั้น การผลิตAggregate Supply เงิน Money Aggregate Demand P

  7. การผลิต (Production) • เป็นการสรุปความสัมพันธ์ผลผลิตกับการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ • Y = F(K, N) โดย Y = ผลผลิต (output) K = จำนวนปัจจัยทุน (Stock of Capital) N = จำนวนแรงงานที่มีความเหมือนกันทั้งหมด (homogeneous Labor inputs) ในระยะสั้น K จะคงที่ การเพิ่มผลผลิตจะขึ้นกับจำนวนแรงงานเท่านั้น (มีจำนวนประชากรคงที่) ทั้งนี้ MPN (Marginal Product of Labor) จะมีแบบ diminishing return

  8. การจ้างงาน Employment • ถือเป็นหัวใจหลักของสำนักคลาสสิค • โดยดุลยภาพกำหนดจาก demand and Supply of Labor • ข้อสมมุติสำคัญคือ ทุกๆ ฝ่ายมีข้อมูลที่สมบูรณ์ (Perfect Information) เกี่ยวกับราคา • ไม่มีข้อจำกัดในการปรับค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน (Money Wages) ที่จะทำให้ตลาดได้ดุลยภาพ

  9. อุปสงค์ของแรงงาน Labor Demand • ผู้จ้างงานคือ Firm ที่เป็นการแข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) มุ่งแสวงหากำไรสูงสุด ที่กำหนดระดับการจ้างงานที่เหมาะสม • โดยในระยะสั้นกำไรสูงสุดกำหนดจาก MC = MR • โดย MR = P (ระดับราคา) และ • MC = W/MPNi; (i = firms) เพราะแรงงานเป็นปัจจัยชนิดเดียวที่เปลี่ยนแปลงได้ MC จึงเป็นต้นทุนส่วนเพิ่มชนิดเดียวจากการจ้างงานเพิ่มขึ้น หนึ่ง หน่วยเพราะ MC = ค่าจ้างส่วนเพิ่ม/ผลผลิตส่วนเพิ่ม => W/MPNi

  10. เงื่อนไขกำไรสูงสุด • จาก MR = MC • ดังนั้น จะได้ ความต้องการจ้างงานจะขึ้นกับค่าจ้างที่แทนจริง (Real Wage) เท่านั้น

  11. สมการอุปสงค์แรงงานมวลรวม (Aggregate labor Demand) ความหมายคือการเพิ่มของค่าจ้างที่แทนจริงทำให้ความต้องการจ้างงานลดน้อยลง แต่เพราะว่าเงื่อนไข ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า อุปสงค์การจ้างแรงงานคือ Nd = MPN*P = W

  12. Y F(K, N) ผลผลิตส่วนเพิ่มของแรงงาน (marginal product of labor: MPN) Y1 Y0 ในระยะสั้น ผลผลิตขึ้นอยู่กับ จำนวนแรงงาน N N0 N1 MPN ตลาดแรงงาน Supply Demand N MPN

  13. W/P, MPN เส้น MPN เป็น เส้น demand for labor N N2 N1 MPNi w, MPN*P เส้น MPN เป็น เส้น demand for labor ในหน่วยของตัวเงิน W2 = MPN2*P W1 = MPN1*P N N2 N1 MPNi .P

  14. อุปทานการจ้างงาน (Supply of Labor) • ขึ้นกับการตัดสินใจของแรงงานแต่ละคนที่คำนึงผลตอบแทนที่แท้จริง (Real Wage) Income-Leisure trade-off W/P SL (W/P=4) (4*24=96) 4 C C (W/P=3) 3*24=72) B 3 B 2 (W/P=2) 2*24=48) A A 6 9 8 Hr work/day 15 16 18 24 Hrs

  15. คุณลักษณะของอุปทานแรงงานคุณลักษณะของอุปทานแรงงาน 1) ค่าจ้างที่แรงงานคำนึงถึงในการตัดสินใจขายแรงงานคือ ค่าจ้างที่แท้จริง เนื่องจากความพอใจของแรงงานเกิดจากรายได้ที่นำไปใช้ซื้อสินค้าเพื่อบริโภค ซึ่งค่าจ้างที่แท้จริงเพิ่มขึ้น ทำให้การพักผ่อนลดลง และ การทำงานเพิ่มขึ้น ค่าจ้างที่เป็นตัวเงิน (W) ค่าจ้างที่แท้จริงถูกกำหนดจาก ระดับราคา (P) 2) เส้นอุปทานแรงงานมีความชันเป็นบวก คือเมื่อค่าจ้างที่แท้จริงสูงขึ้นแรงงานจะทำงานมากขึ้น เนื่องจากค่าจ้างแท้จริง เป็นราคาของการพักผ่อน ค่าจ้างที่สูงขึ้นจึงพักผ่อนน้อยลง ทำงานมากขึ้นเป็นผลจาก substitution effect ที่ทดแทนการพักผ่อนด้วยการทำงานมากขึ้นที่ระดับรายได้ที่แท้จริงสูงมากๆ คนงานอาจจะต้องการการพักผ่อนมากขึ้น income effect

  16. ปัจจัยที่กำหนดระดับผลผลิตและการจ้างงานปัจจัยที่กำหนดระดับผลผลิตและการจ้างงาน ในแบบจำลองของสำนักคลาสสิค ปัจจัยที่กำหนดระดับผลผลิตและการจ้างงาน คือปัจจัยที่กำหนด ขนาดประชากร การเปลี่ยนแปลงความพึงพอใจ • อุปทานแรงงาน - อุปสงค์แรงงาน Productivity of labor เปลี่ยน เทคโนโลยี สต็อกทุน เทคโนโลยี • ฟังก์ชั่นการผลิตรวม สต็อกทุน ต้นทุนการผลิต สรุป ในแบบจำลองสำนักคลาสสิค ระดับผลผลิตถูกกำหนดจากปัจจัยด้านอุปทานเพียงอย่างเดียว

  17. ดุลยภาพของตลาดแรงงานและผลผลิตEquilibrium Output and Employment Y = F (K, N) อุปสงค์การจ้างงาน จะพบว่าเงื่อนไขดุลยภาพอยู่ในรูปของค่าจ้างที่แท้จริง (W/P) อุปทานของแรงงาน Nd = Ns เงื่อนไขดุลยภาพ

  18. W/P Ns A Nd N (ระดับการจ้างงาน) N0 Y Y = F(K, N) Y0 N0 N (ระดับการจ้างงาน)

  19. W/P Ns = g(W/P) = = A Nd = MPN= f(W/P) N (ระดับการจ้างงาน) N0 W Ns(3P1) Ns(2P1) 3W1 Ns(P1) Money wage 2W1 (MPN*3P1) W1 (MPN*2P1) (MPN*P1) N0 N (ระดับการจ้างงาน)

  20. ปัจจัยกำหนดการจ้างงานและผลผลิตปัจจัยกำหนดการจ้างงานและผลผลิต • เทคโนโลยี หรือเป็นปัจจัยที่มาจากด้านอุปทาน เพียงอย่างเดียวเท่านั้น P Ys Classical Aggregate Supply 3P1 2P1 P1 Y Y0

  21. ตัวอย่างปัจจัยด้านอุปทานที่ทำให้ผลผลิตที่แท้จริงเปลี่ยนตัวอย่างปัจจัยด้านอุปทานที่ทำให้ผลผลิตที่แท้จริงเปลี่ยน 1) เทคโนโลยีการผลิตดีขึ้น Y AS0 Y=F(K,T1) AS1 P Y1 Y=F(K,T0) Y0 P0 P1 N w/P AD Ns Y Y0 Y1 (w/P)1 (w/P)0 MPN1 =Nd1 MPN0 =Nd0 N0 N1 N

  22. Y=F(K,oil p) 2) ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น เช่น ราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้น Y AS1 Y=F(K) AS0 P Y0 Y1 P1 P0 N w/P AD Ns Y Y1 Y0 (w/P)0 (w/P)1 MPN0 =Nd0 MPN1 =Nd1 N1 N0 N

  23. 3) ประชากรเพิ่มขึ้น Y AS0 AS1 P Y1 Y=F(N) Y0 P0 P1 N w/P AD Ns0 Y Ns1 Y0 Y1 (w/P)0 (w/P)1 MPN0 =Nd0 N0 N1 N

  24. ทฤษฎีการกำหนดอุปสงค์มวลรวมของคลาสสิคทฤษฎีการกำหนดอุปสงค์มวลรวมของคลาสสิค

  25. Fisher Equation: MVT = PTT โดยที่ M : ปริมาณเงิน VT:transaction velocity of money PT : ดัชนีราคาของสินค้าที่ซื้อขาย T : ปริมาณธุรกรรม (transaction) ทฤษฎีปริมาณเงิน (Quantity Theory of Money) สมการของการแลกเปลี่ยน (The Equation of Exchange) ปริมาณธุรกรรม ณ ระดับราคาคงที่ เท่ากับ ปริมาณเงิน X อัตราการหมุนเวียน (เป็นการแลกเปลี่ยนที่ก่อให้เกิดการส่งต่อของเงินระหว่างการแลกเปลี่ยน) อัตราการหมุนเวียน (Turnover rate) จำนวนครั้งเฉลี่ยของธุรกรรมที่เงินแต่ละบาทถูกใช้ไปในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เรียกว่า “Velocity of Money” VT=PTT/M ซื้อขายสินค้าใหม่ สินค้าที่เคยซื้อขายแล้ว สินทรัพย์ทางการเงิน

  26. Y : รายได้แท้จริง เป็นตัววัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งสำนักคลาสสิคเชื่อว่าถูกกำหนดมาจาก ด้านอุปทาน ซึ่งในระยะสั้นคงที่ ( Y ) V: ถูกกำหนดจากนิสัยการจ่ายเงิน และเทคโนโลยีการจ่ายเงิน (ปัจจัยด้านสถาบัน) ซึ่งจะคงที่ในระยะสั้น ( V ) เน้นธุรกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้ (Income transaction) MV =PY โดยที่ M : ปริมาณเงิน V:income velocity of money P : ดัชนีราคาของสินค้าที่ผลิตในปัจจุบัน Y : ระดับผลผลิตแท้จริง Irving Fisher กล่าวว่า: ตัวแปรต่างๆ (ยกเว้น ราคา) ถูกกำหนดจากเหตุผลอื่นๆ เช่นพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน เป็นต้น M: ถูกกำหนดมาจากผู้ดำเนินนโยบายการเงิน ปริมาณเงิน เป็นตัวกำหนด ราคา

  27. ทฤษฎีปริมาณเงินตามแนวคิดของเคมบริดจ์ (Cambridge Approach) - เนื่องจากคำอธิบายทฤษฎีปริมาณเงินดั้งเดิมนั้นค่อนข้างเป็นกลไก ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์สำนัก Cambridge (อาทิ Alfred Marshall, A. C. Pigou) ได้เสนอคำอธิบายที่มีพื้นฐานจากกระบวนการตัดสินใจถือเงินของคน (อธิบาย การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินที่มีต่อระดับราคา) - การตัดสินใจถือเงินของบุคคล: ถือเงินเพื่อความสะดวกสบายในการจับจ่ายและหลีกเลี่ยงปัญหาการขาดสภาพคล่อง - สมมุติให้ ความต้องการถือเงินเป็นสัดส่วนกับรายได้: Md=kPY ที่ดุลยภาพ money supply=money demand;M=Md=kPY M*(1/k)=PY หากมอง (1/k) เปรียบเสมือน V เราจะเห็นว่า สมการดังกล่าวเหมือนกับกรณีข้างต้นที่ได้กล่าวมาแล้ว

  28. แนวคิดของเคมบริดจ์นำไปสู่ทฤษฎีการเงินสมัยใหม่เพราะตอบคำถามว่าปริมาณเงินมีผลอย่างไรต่อระดับราคา นำไปสู่ ทฤษฎีความต้องการถือเงิน (Theory of the Demand for money) ณ ระดับที่มีดุลยภาพ การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงินทำให้เกิดอุปทานเงินส่วนเกิน (Excess Supply of money) บุคคลจะพยายามลดการถือเงินตามระดับการบริโภคหรือลงทุน (Md = kPY) โดยการบริโภคมากขึ้นทำให้เกิดความต้องการ บริโภคมากขึ้น ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของระดับราคา หากผลผลิตยังอยู่คงที่ เป็นการให้ความสำคัญกับ Demand for Money ที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเงินกับระดับราคา

  29. อุปสงค์มวลรวมของสำนักคลาสสิค (Classical AD) - ทฤษฎีปริมาณเงินเป็นทฤษฎีที่ใช้สร้างอุปสงค์มวลรวมโดยปริยาย(หรือเป็นเพียงนัยยะเท่านั้น) – Implicit theory of Aggregate Demand - จากทฤษฎีปริมาณเงิน MV=PY หรือ M=kPY โดย k = 1/V สมมุติให้ในระยะสั้น V คงที่ (ตัวอย่าง เช่น V=4) P ถ้า ปริมาณเงินในเศรษฐกิจเท่ากับ 300 (M=300) • จากทฤษฎีปริมาณเงิน MV=PY, รายได้ในรูปตัวเงิน(PY)จะเท่ากับ 1200 บาท(MV=300X4) • เราสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง P และ Y 4 3 -- ถ้า P=2 แล้ว Y=600 บาท 2 AD -- ถ้า P=3 แล้ว Y=400 บาท -- ถ้า P=4 แล้ว Y=300 บาท Y 400 600 300

  30. ถ้าปริมาณเงินเพิ่มขึ้นถ้าปริมาณเงินเพิ่มขึ้น P M=400 MV=400 x 4 =1600 =PY - P= 2, Y=800 โดยYd(M) = AD - P= 3, Y= 533.33 4 - P= 4, Y=400 3 AD(M=400) 2 ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ทำให้ AD shift ขวา AD(M=300) Y 533 800 300 400 600

  31. AS P AD(M2) AD(M1) P3 AD(M3) P2 P1 Y การกำหนดผลผลิตและราคาในแบบจำลอง สำนักคลาสสิค (เมื่อนำอุปทานและอุปสงค์พิจารณาพร้อมกัน) -ปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้น ทำให้ AD shift ขวา -เนื่องจาก AS ตั้งฉากทำให้ ผลผลิตไม่เปลี่ยนแปลงจากการเพิ่ม AD, มีเพียงราคาที่สูงขึ้น

  32. กลไกปรับตัวเพื่อให้ได้ดุลยภาพของคลาสสิค(ดอกเบี้ย)กลไกปรับตัวเพื่อให้ได้ดุลยภาพของคลาสสิค(ดอกเบี้ย)

  33. ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิคทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิค • ส่วนประกอบต่างๆในความต้องการสินค้า ทั้งจากการบริโภค การใช้จ่ายรัฐบาล การลงทุน เป็นตัวกำหนดอัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ (อย่างเป็นนัยยะ:Implicit factor) ในแบบจำลองของสำนักคลาสสิค • การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบใดๆ ที่มาจากด้าน AD จะไม่มีผลกระทบต่อระดับ AD เพราะอัตราดอกเบี้ยจะเป็นตัวปรับให้กลับมาสู่ดุลยภาพเดิม

  34. ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิคทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยของสำนักคลาสสิค บทบาทหน้าที่อัตราดอกเบี้ยเป็นกลไกปรับระบบเศรษฐกิจให้ได้ดุลยภาพ ที่เป็น Stabilizer คือป้องความผันผวนจากด้านอุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ คือ อัตราดอกเบี้ยที่ปริมาณเงินที่ให้กู้ (supply of loanable funds) เท่ากับ ปริมาณเงินที่มีความต้องการกู้ (demand for loanable funds) ซึ่งหมายความว่าอัตราดอกเบี้ยในตลาดไม่ได้ถูกกำหนดจากตลาดเงิน เหมือนกรณีทั่วไปที่เข้าใจ

  35. กำหนดให้ ความต้องการกู้หรือความต้องการเงินจะทำโดยขายพันธบัตร เท่านั้น ในขณะที่ความต้องการให้กู้จะทำโดยซื้อพันธบัตร ดังนั้นอัตราดอกเบี้ย จะวัดด้วยผลตอบแทนจากการถือพันธบัตรซึ่งเท่ากับต้นทุนการกู้ยืม ทำให้ อัตราดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่กำหนดคือ ความต้องการซื้อและขายพันธบัตร เพียงอย่างเดียว

  36. ขึ้นกับการคาดการณ์ในการทำกำไรในอนาคตขึ้นกับการคาดการณ์ในการทำกำไรในอนาคต การลงทุน (I) ธุรกิจ อัตราดอกเบี้ย (แปรผกผัน เพราะเป็นต้นทุนการกู้ยืม) ผู้ขายพันธบัตร ถูกกำหนดจากรัฐบาล รัฐบาล ชดเชยการขาดดุล (G-T) เป็นตัวแปรจากภายนอก) ผู้มีเงินออม ออม (S)--แปรผันตามอัตราดอกเบี้ย ผู้ซื้อพันธบัตร • การออมเป็น การ trade-off ระหว่างการบริโภคในปัจจุบันและอนาคต • การถือเงินไม่ให้ผลตอบแทนใดๆ โดยที่พันธบัตรเป็น Store of Wealth • อัตราดอกเบี้ยในสำนักคลาสสิคถูกกำหนดในตลาดเงินกู้ยืม (Loanable Funds) • เงินออม  Demand for bonds = Supply of loanable funds • การลงทุน + การขาดดุลการคลัง  Supply of bonds = Demand of loanable funds

  37. S = Supply of loanble funds I+(G-T)= Demand for loanable funds (G-T) I การกำหนดอัตราดอกเบี้ยในสำนักคลาสสิค r r0 LF0: S =I+G-T S, I, G-T ปริมาณเงินกู้ (loanble funds)  อัตราดอกเบี้ยมีบทบาทในการรักษาเสถียรภาพของสำนักคลาสสิค

  38. I S I0 I1 บทบาทของอัตราดอกเบี้ยในการรักษาเสถียรภาพ r - สมมุติให้ G=T (ไม่มีการกู้ยืมรัฐบาล) - การลดลงของความสามารถในการทำกำไร ทำให้ demand for LF shift ซ้าย r0 A B ที่ระดับ r0 supply of LF > demand for LF  อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพลดลง r1 ปริมาณเงินกู้ S1=I1 S0= I0 r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A C+I ที่เพิ่ม เท่ากับ I ที่ลด (A+B) = I I(r) ขนาดเท่ากับ B การลดลงของการลงทุนไม่ทำให้ความต้องการรวมเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการ ปรับตัวของอัตราดอกเบี้ย

  39. สรุป • -การปรับตัวของอัตราดอกเบี้ยมีบทบาทสำคัญในการรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ • การปรับตัวของอัตราดอกเบี้ย ถือเป็นปราการด่านแรก (first line of defense) ในการรักษาระดับการจ้างงานเต็มที่ ผลกระทบต่อความต้องการบริโภค การลงทุนหรือการใช้จ่ายภาครัฐ ไม่ส่งผลต่อความต้องการมวลรวม (AD ไม่ shift) • การปรับตัวในตลาดแรงงาน ถือเป็นปราการด่านที่สอง (second line of defense) ในการรักษาระดับการจ้างงานเต็มที่ซึ่งสะท้อนในเส้น AS ที่ตั้งฉาก

  40. AD(Ms) นัยเชิงนโยบายของสำนักคลาสสิค นโยบายการเงิน -AD สร้างมาจาก Quantity Theory of Money -การเพิ่มปริมาณเงิน (นโยบายการเงินขยายตัว)ทำให้ AD shift ขวา P AS • มีผลกระทบต่อราคาเท่านั้น • เพราะ AS คงเดิม • สรุป นโยบายการเงิน มีผลต่อระดับราคาเท่านั้น และไม่มีผลต่อการจ้างงานและผลผลิตที่แท้จริงในระบบเศรษฐกิจ P1 P0 AD Y

  41. นัยยะของนโยบายการคลังต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจนัยยะของนโยบายการคลังต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ 1) การใช้จ่ายภาครัฐ (government spending) เก็บภาษี การชดเชย การเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ ออกพันธบัตร พิมพ์เงิน • - เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงในนโยบายการเงินปริมาณเงินคงที่ • สมมุติให้ ภาษีคงที่ • ดังนั้น การเพิ่มการใช้จ่ายจะถูกชดเชยโดยการออกพันธบัตร • การเพิ่มการใช้จ่ายโดยชดเชยการขาดดุลด้วยการออกพันธบัตร ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับผลผลิต(ส่งผลให้การจ้างงานคงที่) และระดับราคา (อุปสงค์มวลรวมไม่เปลี่ยนแปลง)

  42. S B A B I การเพิ่มรายจ่ายภาครัฐ: ไม่ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของการจ้างงาน ผลผลิตหรือราคา r - สมมุติให้เดิม G=T - การเพิ่มการการใช้จ่ายภาครัฐ ทำให้ เส้น demand for LF shift ขวา F (G-T)1 ที่ระดับ r0 demand for LF > supply of LF  อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเพิ่มขึ้น r1 E r0 I+(G-T)1 ปริมาณเงินกู้ S0=I0 S1= I1+(G-T)1 r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A C+I ที่ลด เท่ากับ Gที่เพิ่ม (A+B) = (G-T) I(r) ขนาดเท่ากับ B การเพิ่มใช้จ่ายภาครัฐ(G)ที่ชดเชยโดยการขายพันธบัตรทำให้อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น เบียดออก (Crowd out) การใช้จ่ายของเอกชน(C+I)ในปริมาณเท่ากัน

  43. S (G-T)1 B A B I การลดภาษี (Demand side policy) r - การลดภาษี ทำให้ เส้น demand for LF shift ขวา(ขายพันธบัตรชดเชยรายได้ที่สูญเสียไป ที่ระดับ r0 demand for LF > supply of LF  อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเพิ่มขึ้น r1 r0 I+(G-T)1 ปริมาณเงินกู้ S0=I0 S1= I1+(G-T)1 r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A C+I ที่ลด เท่ากับ T ที่ลด (A+B) = (G-T) I(r) ขนาดเท่ากับ B ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใน AD  เกิด complete crowding out

  44. การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีรายได้การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีรายได้ (Marginal Income Tax Rate) Supply Side Policy • ส่งผลกระทบต่อแรงจูงใจในการทำงาน เนื่องจากแรงงานจะพิจารณาค่าจ้างหลังหักภาษี --- Ns=g[(1-ty)(w/P)] • ดังนั้นเมื่อรัฐบาลลดอัตราภาษี ณ ระดับค่าจ้างที่แท้จริงเดิม คนงานจะมีความต้องการทำงานเพิ่มขึ้น เพราะรายได้ที่ได้รับจริงเพิ่มมากขึ้น ทำให้ความต้องการขายแรงงานมากขึ้น ทำให้ labor supply shift ขวา • สมมุติให้ อัตราภาษีลดลงจาก 40 % เป็น 20 %

  45. ตัวอย่างการมีอัตราภาษีลดจาก 40% เป็น 20% Y AS0 AS1 P Y1 Y=F(N) Y0 P0 AD’ P1 N w/P AD Ns(ty = 0.4) Y Ns(ty = 0.2) Y0 Y1 (w/P)0 (ชดเชยภาษีที่ลดลงด้วยการกู้จาก ธนาคารกลาง) (w/P)1 สรุป การลดภาษีเงินได้มีผลต่อการทำงาน จะส่งผลต่อการจ้างงาน ผลผลิตและระดับราคา MPN0 =Nd0 N0 N1 N

  46. S (G-T)1 B A B I ขายพันธบัตรให้ประชาชน r - การเพิ่มการใช้จ่ายภาครัฐ ทำให้ เส้น demand for LF shift ขวา ที่ระดับ r0 demand for LF > supply of LF  อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเพิ่มขึ้น r1 r0 I+(G-T)1 ปริมาณเงินกู้ S0=I0 S1= I1+(G-T)1 C+I ที่ลด เท่ากับ Gที่เพิ่ม (A+B) = (G-T) r S C(=S) ขนาดเท่ากับ A I(r) ขนาดเท่ากับ B สรุป การปรับตัวของอัตราดอกเบี้ยทำให้ความต้องการใช้จ่ายของเอกชน (C, I) ลดลง เกิดผลหักล้างต่อรายจ่ายของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้น

  47. การหักล้างผลของนโยบายการคลัง (Crowding out) ทำให้ aggregate demand ไม่เปลี่ยนแปลงระดับราคาไม่เปลี่ยนแปลง • การชดเชยการขาดดุลด้วยวิธีอื่น • การพิมพ์เงิน – ทำให้ปริมาณเงินเพิ่ม AD shift ขวา ส่งผลให้ระดับราคาสูงขึ้น • การเพิ่มภาษี • G=T; balance budget multiplier • -ไม่มีผลต่อ demand for LF • - การเก็บภาษีทำให้ supply of LF ลดเพราะคนเอาเงินออมส่วนหนึ่งไปจ่ายภาษี • - r ปรับตัวสูงขึ้น S’ r S r1 r0 I QLF C S C S r G(=T) I

  48. AD(Ms จาก G ) กู้จากธนาคารกลาง • ไม่กระทบ demand และ supply ใน loanable funds market • การกู้จากธนาคารกลาง ทำให้ปริมาณเงินเพิ่ม ส่งผลกระทบต่อ AD P P1 P0 AD Y

  49. สรุป • สำนักคลาสสิค เสนอให้รัฐไม่ดำเนินนโยบายเพื่อแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ (non-interventionist policy) เนื่องจาก • ถ้ารัฐบาลใช้นโยบายการเงิน จะมีผลต่อระดับราคาเท่านั้น • ถ้ารัฐบาลใช้นโยบายการคลัง จะเกิดการหักล้างผลของนโยบายการคลังโดยสมบูรณ์ (complete crowding out) จากการปรับตัวของอัตราดอกเบี้ย

More Related