1 / 36

บทที่ 9

บทที่ 9. การบัญชีต้นทุนตอน(ต่อ). ปริมาณ การผลิต. WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 10,000 ผลิต เสร็จ 7,000 WIP ปลายงวด 3 ,000 10,000. ปริมาณ การผลิต. WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 หน่วยเพิ่ม - 10,000 ผลิตเสร็จ 7,000

ciara-white
Download Presentation

บทที่ 9

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9 การบัญชีต้นทุนตอน(ต่อ)

  2. ปริมาณการผลิต WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 10,000 ผลิตเสร็จ 7,000 WIP ปลายงวด 3,00010,000

  3. ปริมาณการผลิต WIP ต้นงวด 1,000 เริ่มผลิต 9,000 หน่วยเพิ่ม -10,000 ผลิตเสร็จ 7,000 WIP ปลายงวด 1,200 หน่วยเสีย/สูญ 1,80010,000

  4. หน่วยเสีย/สูญ 1. สินค้าเสีย (Spoilage) สินค้าผลิตเสร็จแล้ว แต่ไม่ได้คุณภาพ แก้ไขไม่ได้อีกแล้ว 2. สิ่งสูญเสีย (Waste material) จำนวนที่หมดไปโดยเปล่าประโยชน์เนื่องจากกรรมวิธีการผลิต 3. เศษวัสดุ (Scrap material) วัตถุดิบส่วนที่เหลือกจากการใช้ผลิต ไม่สามารถใช้ผลิตต่อไปได้ 2. สินค้าด้อยคุณภาพ (Defective Unit) สินค้าที่ผลิตไม่ได้คุณภาพ แต่สามารถนำไปแก้ไขจนเป็นหน่วยดีได้ หรือแก้ได้บ้าง

  5. การบัญชีเกี่ยวกับหน่วยเสีย(สูญ)การบัญชีเกี่ยวกับหน่วยเสีย(สูญ) 1. ไม่คำนึงถึงหน่วยเสียที่เกิดขึ้น นับเฉพาะหน่วยดี -> จำนวนหน่วยน้อย -> ต้นทุนต่อหน่วยสูงขึ้น 2. คิดต้นทุนให้หน่วยเสีย นับทั้งหน่วยดีและหน่วยเสีย - หน่วยเสียปกติ รวมเป็นต้นทุนของหน่วยดี - หน่วยเสียเกินปกติ แยกเป็นผลขาดทุนใน P/L

  6. หน่วยเสียปกติ • หน่วยเสียที่เกิดขึ้นภายใต้สภาวะการณ์ดำเนินงานที่มี ประสิทธิภาพ • หน่วยเสียที่หลีกเลี่ยงไม่ได้อันเนื่องจากการผลิตตามปกติ

  7. หน่วยเสียเกินปกติ (Abnormal Spoilage) • หน่วยเสียที่กิจการไม่ได้คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นภายใต้สภาวะการณ์ดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ • หน่วยเสียที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ หากการผลิตนั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

  8. หน่วยเสียเกินปกติ • หาหน่วยเทียบเท่า • ทราบต้นทุน • ปรับปรุงเป็นผลขาดทุนหน่วยเสียเกินปกติ -> P/L Dr. ผลขาดทุนจากสินค้าเสียเกินปกติ xx Cr. งานระหว่างสินค้า xx

  9. หน่วยเสียปกติ ถือเป็นต้นทุนของหน่วยดี หน่วยใด ? -> ผลิตเสร็จ -> ไม่สำเร็จ ให้ดูขั้นความสำเร็จกับจุดตรวจสอบ ดูว่าขั้นความสำเร็จของ WIP ปลายงวด ถึงจุดตรวจสอบแล้วหรือไม่

  10. ตัวอย่าง WIP ปลายงวด ณ ขั้น 30% จุดตรวจสอบอยู่ที่ขั้น 70%

  11. 100% จุดตส.70% WIP30% หน่วยเสีย 1. ผลิตเสร็จ= หน่วยดี + หน่วยเสีย 2. WIP ปลายงวด= หน่วยดี

  12. ตัวอย่าง WIP ปลายงวด ณ ขั้น 30% จุดตรวจสอบอยู่ที่ขั้น 20%

  13. 20% 100% WIP30% 1. ผลิตเสร็จ = หน่วยดี + หน่วยเสีย 2. WIP ปลายงวด = หน่วยดี + หน่วยเสีย

  14. จุดตส. 100% หน่วยเสีย WIP 40% จุดตส.40% หน่วยเสีย WIP80% จุดตรวจสอบ 100% WIP ปลายงวด 40% จุดตรวจสอบ 40% WIP ปลายงวด 80%

  15. WIP ปลายงวด ไม่ถึงจุดตรวจสอบ • ต้นทุนหน่วยเสียรวมเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตเสร็จ นั่นคือ • คำนวณหน่วยเทียบเท่าหน่วยเสีย • ทราบต้นทุนหน่วยเสีย • รวมต้นทุนหน่วยผลิตเสร็จ (ไม่ต้องปันส่วนต้นทุนหน่วยเสียให้หน่วยดีที่เป็น WIP ปลายงวด)

  16. หน่วยสินค้า เปอร์เซ็นต์ที่แล้วเสร็จ จำนวน วัตถุดิบ แปลงสภาพ 100% 20,000 100% ผลิตเสร็จ 4,000 100% 40% งานระหว่างทำปลายงวด 100% 3,000 100% หน่วยเสีย WIP ปลายงวดไม่ถึงจุดตรวจสอบ ต้นทุนของหน่วยเสียรวมเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตเสร็จ ไม่ต้องเฉลี่ยต้นทุนให้หน่วยดีที่เป็น WIP ปลายงวด

  17. WIP ปลายงวดไม่ถึงจุดตรวจสอบ ต้นทุนหน่วยสินค้าที่ผลิต • ต้นทุนที่โอนออก หน่วยดีผลิตเสร็จ 190,000.- หน่วยเสียปกติ 19,000.- ต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ 209,000.- หน่วยเสียเกินปกติ 9,500.- รวมต้นทุนโอนออก 218,500.- • WIP ปลายงวด 30,200.- รวม 248,700.-

  18. WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ การแบ่งต้นทุนหน่วยเสียให้หน่วยดี ทั้ง ผลิตเสร็จ และ ไม่เสร็จ (ปันส่วน) • คำนวณหน่วยเทียบเท่าหน่วยเสีย • ทราบต้นทุนหน่วยเสีย • แบ่งต้นทุนหน่วยเสียให้หน่วยดีทั้งผลิตเสร็จและWIP 1.1 แบ่งตามเกณฑ์ปริมาณสินค้า 1.2 แบ่งตามสัดส่วนหน่วยเทียบเท่า

  19. หน่วยสินค้า เปอร์เซ็นต์ที่แล้วเสร็จ จำนวน วัตถุดิบ แปลงสภาพ 100% 20,000 100% ผลิตเสร็จ 4,000 100% 80% งานระหว่างทำปลายงวด 100% 3,000 50% หน่วยเสีย WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ ต้นทุนของหน่วยเสียเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตเสร็จ และ WIP ปลายงวด

  20. WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ • ต้นทุนหน่วยสินค้าที่ผลิต :- • ต้นทุนที่โอนออก • หน่วยดีผลิตเสร็จ 186,710.- • บวก หน่วยเสียปกติ 14,155.- • ต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ 200,865.- • หน่วยเสียเกินปกติ 8,469.- • รวมต้นทุนโอนออก 209,334.-

  21. WIP ปลายงวดผ่านจุดตรวจสอบ(ต่อ) WIP ปลายงวด 36,585.- บวก หน่วยเสียปกติ 2,781.- รวมต้นทุน WIP ยกไป 39,366.- รวม 248,700.-

  22. กรณีมี WIP ต้นงวด สินค้าผลิตเสร็จ เริ่มงวดก่อน เริ่มงวดปัจจุบัน ต้นทุนสินค้า 2 จำนวน อาจไม่เท่ากัน แม้เสร็จในเดือนเดียวกัน

  23. การคำนวณมูลค่าของสินค้าที่ผลิตเสร็จในกรณีมีงานระหว่างทำต้นงวดการคำนวณมูลค่าของสินค้าที่ผลิตเสร็จในกรณีมีงานระหว่างทำต้นงวด 1. วิธีถัวเฉลี่ย สินค้าทุกหน่วยไม่ว่าจะเริ่มผลิตในงวดก่อนหรืองวดปัจจุบัน จะมีต้นทุนต่อหน่วยเท่ากันหมด 2. วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน สินค้าที่เริ่มผลิตในช่วงเวลาต่างกันแม้จะผลิตเสร็จพร้อมกันก็อาจมีต้นทุนต่างกันจึงควรแยกต้นทุนกัน

  24. การคิดแบบ Average ต้นทุนรวม ต้นทุนยกมา 14 ต้นทุนในงวด 9 + 25 48 ต้นทุน@ 48 = 24.00 2

  25. 2 3 2 3 2 3 10 10 2 3 2 3 การคิดแบบ FIFO มค. กพ. 2 3 2 10 3 3 = 25 = 20 = 14 + 9 = 23

  26. ข้อสมมติฐานการคิดต้นทุนวิธี FIFO สินค้าที่เริ่มทำก่อน จะเสร็จก่อน โครงสร้างต้นทุน เสร็จ: เริ่มงวดก่อน = ยกมา + ในงวด เริ่มงวดปัจจุบัน = ในงวด WIP ปลายงวด = ในงวด + งวดหน้า

  27. ส่วนประกอบส่วนที่ 4 - ต้นทุนชนิดสินค้าที่ผลิต • หน่วยผลิตโอนออก • -เริ่มทำในงวดก่อน • ต้นทุนยกมา • บวก ต้นทุนในงวด • รวม • -เริ่มผลิตในงวด • รวมต้นทุนหน่วยผลิตเสร็จ

  28. ข้อควรคำนึงถึงการเลือกใช้วิธีการคำนวณมูลค่าสินค้าที่ผลิตเสร็จข้อควรคำนึงถึงการเลือกใช้วิธีการคำนวณมูลค่าสินค้าที่ผลิตเสร็จ • เลือกวิธีที่งานและสะดวกกว่า เว้นแต่ • ปัจจัยการผลิตในแต่ละเดือนมีต้นทุน แตกต่างกันมาก -> วิธี FIFO • ปัจจัยการผลิตในแต่ละเดือนมีต้นทุน ไม่แตกต่างกันมาก-> วิธีถัวเฉลี่ย

  29. หน่วยเพิ่มในกระบวนการผลิตหน่วยเพิ่มในกระบวนการผลิต ผลของการเพิ่มวัตถุดิบในกระบวนการผลิตอาจจะมีผลต่อปริมาณและต้นทุนการผลิตดังนี้ 1. ไม่มีผลต่อปริมาณการผลิต แต่ต้นทุนการผลิตเพิ่ม คือการใช้วัตถุดิบในกระบวนการผลิตโดยวัตถุดิบที่ใช้เพิ่มนี้อาจมีผลเพียงให้สินค้ามีลักษณะเปลี่ยนไปแต่จำนวนยังคงเดิม 2. มีผลต่อทั้งปริมาณการผลิต และต้นทุนการผลิต ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากเดิมมีผลทำให้ ต้นทุนต่อหน่วยที่รับโอนมาลดลง

  30. หน่วยสูญในกระบวนการผลิตหน่วยสูญในกระบวนการผลิต 1. สินค้าเสียหรือหน่วยเสีย 2.สินค้าด้อยคุณภาพ 3. สิ่งสูญเสีย 4. เศษวัสดุ

  31. การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสียหรือหน่วยเสียการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสียหรือหน่วยเสีย สินค้าเสียหรือหน่วยเสีย หมายถึง สินค้าที่ผลิเสร็จแล้วไม่ได้คุณภาพหรือมาตรฐานและไม่สามารถแก้ไขหรือซ่อมแซมได้อีก มีวิธีปฏิบัติ 2 วิธี 1 ไม่ต้องคำนึงถึงหน่วยเสียที่เกิดขึ้น การคำนวณต้นทุนที่ผลิตได้มาตรฐานหรือหน่วยดีเท่านั้น 2 มีการคิดต้นทุนให้กับหน่วยเสีย นอกจากจะต้องคำนึงถึงจำนวนหน่วยเสียปกติและเกินกว่าจำนวนหน่วยเสียปกตินั้น จะต้องมีกาพิจารณาถึงจุดที่ทำการตรวจสอบหน่วยเสียด้วย โดยผลขาดทุนจากหน่วยเสียปกติจะเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยดี

  32. 2.1 ผลขาดทุนจากหน่วยเสียปกติ จะเฉลี่ยเป็นต้นทุนของหน่วยดีเนื่องจากกิจการยอมรับจำนวนของหน่วยเสียปกติอยู่แล้ว 2.1.1 ขั้นความสำเร็จของงานระหว่างทำปลายงวดยังไม่ถึง จุดตรวจสอบหน่วยเสีย 2.1.2 ขั้นความสำเร็จของงานระหว่างทำปลายงวดเกินจุด ตรวจสอบหน่วยเสีย 2.2 ผลขาดทุนจากหน่วยเสียเกินปกติ ต้นทุนของหน่วยเสียปกติไม่ควรทำให้ต้นทุนของหน่วยดีสูงขึ้นควรมีการแยกต้นทุนของหน่วยเสียเกินปกติให้เห็นเด่นชัดแล้วบันทึกบัญชีเป็นค่าช้าจ่ายประจำงวด Dr. ผลขาดทุนจากสินค้าเสียเกินปกติ xx Cr. งานระหว่างทำ-แผนก........ xx

  33. การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าด้อยคุณภาพการบัญชีเกี่ยวกับสินค้าด้อยคุณภาพ สินค้าด้อยคุณภาพ หมายถึง สินค้าที่ผลิตแล้วไม่ได้คุณภาพ แต่ยังสามารถนำไปแก้ไขได้อีก การบันทึกบัญชีสามารถบันทึกได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. ต้นทุนที่ใช้ในการแก้ไขสินค้าด้อยคุณภาพตามปกติ Dr.งานระหว่างทำ-แผนก....... xx Cr.วัตถุดิบ xx ค่าแรง xx ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx 2. ต้นทุนที่ใช้ในการแก้ไขสินค้าด้อยคุณภาพผิดปกติ Dr.ผลขาดทุนจากสินค้าด้อยคุณภาพผิดปกติ xx Cr. วัตถุดิบ xx ค่าแรง xx ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx

  34. การบัญชีเกี่ยวกับสิ่งสูญเสียการบัญชีเกี่ยวกับสิ่งสูญเสีย หมายถึง จำนวนที่หมดไปโดยเปล่าประโยชน์เนื่องจากกรรมวิธีการผลิต กลายเป็นส่วนที่ไม่มีมูลค่า โดยทั่วไปไม่มีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสิ่งสูญเสียที่เกิดขึ้น เนื่องจากถือว่าเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้นทุนการผลิตของสิ่งสูญเสียจึงถูกรวมในบัญชีงานระหว่างทำ

  35. การบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุการบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุ หมายถึง การใช้วัตถุดิบในการผลิตและเหลือเป็นเศษวัตถุดิบไม่สามารถใช้ในการผลิตอีกต่อไป การบันทึกบัญชีทำได้ 2 ลักษณะ 1. ถ้ามูลค่าเศษวัสดุมีการประมาณขึ้น Dr.เงินสด xx Cr.ค่าใช้จ่ายโรงงาน xx 2. ถ้ามูลค่าเศษวัสดุไม่มีการประมาณขึ้น Dr.เงินสด xx Cr.งานระหว่างทำ-แผนก........ xx

  36. การคำนวณต้นทุนการผลิตตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน (FIFO) การคำนวณต้นทุนการผลิตแบบเข้าก่อนออกก่อนจะแยกต้นทุนการผลิตที่เป็นของงานระหว่างทำต้นงวดยกมาและต้นทุนกาผลิตที่เกิดขึ้นในงวดปัจจุบันออกจากกัน โดยถือว่าสินค้าที่เริ่มผลิตในช่วงเวลาต่างกันย่อมมีต้นทุนการผลิตแตกต่างกัน • วิธีเข้าก่อนออกก่อนถือว่าสินค้าที่เริ่มผลิตก่อนจะเป็นสินค้าที่ผลิตเสร็จก่อน • ในกรณีของงานระหว่างทำต้นงวดจึงถูกสมมติว่าต้องทำการผลิตเป็นอันดับแรก • ต้นทุนของสินค้าที่เริ่มผลิตในงวดก่อนและนำมาผลิตต่อในงวดปัจจุบันจะมีต้นทุนประกอบด้วย ต้นทุนที่ยกมาจากงวดก่อน บวกกับต้นทุนที่ใช้เพิ่มในงวดปัจจุบัน • ต้นทุนของสินค้าที่เริ่มผลิตในงวดปัจจุบันย่อมเป็นสินค้าที่ไม่มีต้นทุนยกมา มีแต่ต้นทุนที่เกิดขึ้นในงวดปัจจุบัน หากมีการผลิตจนแล้วเสร็จสมบูรณ์ • งานระหว่างทำปลายงวดเป็นสินค้าที่มีการใช้ต้นทุนในงวดปัจจุบันและเกิดต้นทุนการผลิตในงวดบัญชีถัดไปด้วย

More Related