1 / 34

แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์

แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์. โดย รศ.ดร. นวลน้อย ตรีรัตน์ 10 เมษายน 2550. การวางแผนและบริหารโครงการที่ดี. โครงการ คือ กิจกรรมหลักของภาครัฐ ในการพัฒนาประเทศ. รัฐสภา. คณะรัฐมนตรี. รัฐมนตรี. หัวหน้า ส่วนราชการ. ผู้ใช้ผลผลิต โครงการ. กลุ่มเป้าหมาย.

Download Presentation

แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์ โดย รศ.ดร. นวลน้อย ตรีรัตน์ 10 เมษายน 2550

  2. การวางแผนและบริหารโครงการที่ดีการวางแผนและบริหารโครงการที่ดี โครงการ คือ กิจกรรมหลักของภาครัฐ ในการพัฒนาประเทศ

  3. รัฐสภา คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี หัวหน้า ส่วนราชการ ผู้ใช้ผลผลิต โครงการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ได้รับประโยชนอื่น ๆ จากโครงการ ผู้ได้รับ ผลกระทบ ผู้เสียประโยชน์ จากโครงการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักในการบริหารโครงการภาครัฐ องค์การในกำกับ ส่วนราชการ/ หน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ให้นโยบาย (จัดสรรงบประมาณ) และผู้อนุมัติ หน่วยงานเจ้าของโครงการ หน่วยงานเจ้าของพื้นที่ สำนักงบประมาณ ผู้วิเคราะห์/พิจารณาโครงการ โครงการ สภาพัฒน์ คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ผู้รับจ้าง/ผู้รับเหมา ผู้ตรวจ ผู้ดำเนิน โครงการ ชุมชน บ.ที่ปรึกษา/ สถาบันการศึกษา NGO’s นักวิชาการ ฯลฯ ส่วนราชการ/ หน่วยงาน ผู้ตรวจการ แผ่นดิน ของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแห่งชาติ กรรมาธิการ ของรัฐสภา ศาลปกครอง สตง. อปท.และ ชุมชน

  4. การวางแผนและบริหารโครงการการวางแผนและบริหารโครงการ • ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ • ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ ผลลัพธ์/ ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1. ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผล การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา • พิจารณาที่มาโครงการ กลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ และความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจและสังคม • พิจารณาศักยภาพและความพร้อมของในการโครงการ 2. ริเริ่มโครงการใหม่ และการวิเคราะห์เบื้องต้น • พิจารณาขอบเขตและวัตถุประสงค์ของโครงการ • วิเคราะห์ผลผลิต/ผลลัพธ์/และหรือผลกระทบ • วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินโครงการ • วิเคราะห์ความคุ้มค่าและผลประโยชน์ของโครงการ 3. วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ • จัดลำดับความสำคัญของโครงการ • วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน/เปรียบเทียบกับโครงการอื่น • ประเมินความคุ้มค่า ผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรรงบประมาณ • พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ • ทบทวน/การปรับเปลี่ยนแผน (งาน งบประมาณ และระยะเวลา) • สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียน จากการดำเนินโครงการ 5. ติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ • ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต • ประเมินผลลัพธ์และติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้น • สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียนจากการใช้ประโยชน์โครงการ 6. ประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

  5. 1 ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา

  6. 1. ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงาน โครงการที่ผ่านมา ดำเนินการโครงการต่อเนื่อง ขยายผลโครงการ ยกเลิก โครงการ ติดตาม และเฝ้าดู 1. 2. 3. 4. 5. 6. “โครงการสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ?” “โครงการเบี่ยงเบนตามแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณหรือไม่ ?” ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ “โครงการสามารถก่อให้เกิดประโยชน์เป็นรูปธรรมอย่างไร ?” ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ ผลลัพธ์/ ผลกระทบที่เกิดขึ้น “กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จากผลผลิตหรือไม่ ?” ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย “กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบได้รับการชดเชย เป็นที่พอใจหรือไม่ ?” ทบทวน/ตรวจสอบปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข “อะไรเป็นปัญหาและอุปสรรคของโครงการและ ได้ดำเนินการแก้ไขอย่างไร ?” ตัดสินใจ “มีการเปลี่ยนแปลง สภาพเศรษฐกิจ การเมือง สังคม กฎหมาย ระเบียบ หรือไม่ อย่างไร ?” “ได้มีการประเมินความคุ้มค่าในการดำเนินโครงการหรือไม่ มีทางเลือกอย่างไร ?”

  7. 2 ริเริ่มโครงการและวิเคราะห์เบื้องต้น

  8. 2. ริเริ่มโครงการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. ตัดสินใจ ความต้องการโครงการใหม่ “โครงการมีที่มาจากปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของกลุ่มเป้าหมาย/ประชาชนหรือไม่ ?” พิจารณาที่มาของความต้องการ “กรอบแนวคิดและเหตุผลของโครงการมีที่มาอย่างไร?” “มีความจำเป็นในการทำการศึกษา ความเป็นไปได้หรือไม่?” จำเป็นต้องศึกษาความเป็นไปได้โครงการ ริเริ่มแนวคิดโครงการ “วิธีการและรูปแบบในการดำเนินโครงการให้บรรลุเป้าหมายโดยให้มีผลกระทบน้อยที่สุดทำอย่างไร ?” พิจารณาลักษณะของโครงการ “โครงการมีวิธีการธำรงรักษาจริยธรรมและ ความเป็นธรรมในสังคมหรือไม่ อย่างไร ?” พิจารณาความถูกต้องทางจริยธรรม และความเป็นธรรมในสังคม “ใครคือกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์โดยตรง จากผลผลิตโครงการ ?” ระบุเป้าหมาย, ผลผลิต, และคาดการณ์ผลลัพธ์ หรือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ/หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว “โครงการส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและลบที่ยอมรับได้หรือไม่ ?”

  9. 2. ริเริ่มโครงการใหม่ (ต่อ) 1. 2. 3. 4. 5. 6. “โครงการนำไปสู่ความสำเร็จตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ/ยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ (ระดับชาติ/กระทรวง/ระดับพื้นที่) อย่างไร?” วิเคราะห์กระบวนการและแนวคิดของโครงการใหม่ (Logframe) โดยเฉพาะในเรื่องความสอดคล้อง (SWOT) และผลกระทบในมิติเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความมั่นคง (Pre-Analysis) “โครงการให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และ ความมั่นคงที่คุ้มค่าได้อย่างไร ?” “มีทางเลือกอื่นที่เหมาะสมกว่า ดีกว่า และคุ้มค่ากว่าหรือไม่ เทคโนโลยี มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ?” ระบุทางเลือกอื่นและ วิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี “ความเป็นไปได้ของกระบวนการ ระยะเวลา และวิธีการดำเนินงานมีมากน้อยเพียงใด ?” วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการ และวิธีการดำเนินการเบื้องต้น

  10. 2. ริเริ่มโครงการใหม่ (ต่อ) 1. 2. 3. 4. 5. 6. “พื้นที่ใดที่มีความเหมาะสม ความพร้อม และมีปัญหาน้อยที่สุด ?” พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ พิจารณาความพร้อมและความเพียงพอของทรัพยากรและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง “ความพร้อม และความเพียงพอของ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ มีมากน้อยเพียงใด ?” วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้าโครงการและทีมงาน “หัวหน้าโครงการและทีมงานมีความมุ่งมั่นและมีขีดความสามารถมากน้อยเพียงใด ?” ตัดสินใจ • หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบ • รมต.เห็นชอบ

  11. 3 วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ

  12. 3. วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. “ขอบเขตและวัตถุประสงค์ของโครงการครอบคลุมตามที่มาและความต้องการที่แท้จริงของโครงการหรือไม่ ?” พิจารณาขอบเขตและวัตถุประสงค์ของโครงการ “ผลผลิตโครงการนำไปสู่ผลประโยชน์ที่ได้รับในด้านต่างๆ (ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง และด้านคุณภาพชีวิต) หรือไม่ ?” วิเคราะห์โครงสร้างผลผลิต/ ผลลัพธ์ / และหรือผลกระทบของโครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน “กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่ส่งผลต่อโครงการและต้องนำมาพิจารณามีอะไรบ้าง และได้ปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ครบถ้วนแล้วหรือไม่?” พิจารณาความก้าวหน้าและขั้นตอนการดำเนินงาน โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบ ข้อบังคับ ของกฎหมาย “โครงการให้ผลประโยชน์ที่เหมาะสมในทุกด้าน (เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต) และเป็นที่ยอมรับแก่ทุกฝ่าย หรือไม่ ?” วิเคราะห์และทบทวนความคุ้มค่าของโครงการ เน้นการพิจารณาความน่าเชื่อถือของสมมุติฐานและผลประโยชน์โครงการทางเศรษฐกิจ “ได้คาดการณ์ปัญหาและความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นแก่โครงการอย่างไรบ้าง ?”

  13. 3. วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ (ต่อ) 1. 2. 3. 4. 5. 6. วิเคราะห์เทคโนโลยีที่เหมาะสม แหล่งที่มาของเทคโนโลยี ความทันสมัยของเทคโนโลยี และถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ใช้ประโยชน์ “เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความเป็นไปได้และให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าที่สุด ?” “กระบวนการนำส่งผลผลิตเป็นไปได้/ เหมาะสมหรือไม่ ?” วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต “พื้นที่โครงการมีศักยภาพ และไม่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อคนในพื้นที่ หรือต่อค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการใช่หรือไม่ ?” วิเคราะห์ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคคล การประมาณราคา และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม “มีทรัพยากรที่เพียงพอ และพร้อมใช้งานหรือไม่ ?”

  14. 3. วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ (ต่อ) 1. 2. 3. 4. 5. 6. วิเคราะห์แผนการดำเนินโครงการและงานหลัก (Milestone) การส่งต่อ/เชื่อมโยง และความเสี่ยง และแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น “อะไรเป็นงานหลักวิกฤติ(Critical Milestone) ที่จำเป็นต้องกำหนด และความเสี่ยงใดส่งผลกระทบต่อโครงการอย่างมีนัยสำคัญ ? ” วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน/เปรียบเทียบกับโครงการอื่นที่ใช้ผลผลิตและกิจกรรม ในลักษณะเดียวกัน “ต้นทุนของโครงการตลอดวัฏจักรโครงการคุ้มค่าหรือไม่ ?” ตัดสินใจ • หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติคำขอโครงการ • รมต.ให้ความเห็นชอบคำขอ

  15. 4 วิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ

  16. 4. วิเคราะห์และจัดสรรงบประมาณ 1. 2. 3. 4. 5. 6. “ข้อมูลโครงการครบถ้วน เพียงพอสำหรับการตัดสินใจหรือไม่ ได้จัดลำดับความสำคัญของโครงการแล้วหรือไม่?” จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ (เปรียบเทียบในระดับหน่วยงาน) “คำของงบประมาณ ให้ผลตอบแทน ที่มีความน่าเชื่อถือได้และเป็นที่ยอมรับแก่ทุกฝ่ายหรือไม่ ?” พิจารณาจัดทำคำของบประมาณตามความเหมาะสม ตัดสินใจ • ครม.ให้ความเห็นชอบ

  17. 5. ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ

  18. 5. ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. “แผนปฏิบัติงานและแผนงบประมาณของโครงการมีความเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่ ?” จัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ “มีวิธีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการตามแผนปฏิบัติงานและ แผนงบประมาณอย่างไร ?” พิจารณาความคืบหน้าตาม แผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ “การดำเนินโครงการเป็นไปตามแผนปฏิบัติงานและแผนงบประมาณ ?” ทบทวน/การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และระยะเวลาดำเนินงาน “เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น มีกระบวนการปรับเปลี่ยนแผนงานเพื่อให้ในความสำเร็จโครงการตามเป้าหมายอย่างไร ?” รายงานผลความก้าวหน้า สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียน “ปัญหา อุปสรรค และความเสี่ยง ที่ต้องตระหนักระหว่างการดำเนินโครงการมีอะไรบ้าง ?” สิ้นสุดการดำเนินโครงการ

  19. 6. ประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ปรับปรุง/ แก้ไข

  20. 6. ประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข 1. 2. 3. 4. 5. 6. “ใคร/หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบใน การบริหารจัดการ/ดูแล/บำรุงรักษาผลผลิตโครงการ” ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต “มีระบบการประเมินการใช้ผลผลิตได้ อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร” ประเมินผลลัพธ์และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย “กลุ่มเป้าหมายสามารถให้ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ผลผลิต และ/หรือปรับปรุงวิธีการ/กระบวนการใช้ประโยชน์ได้หรือไม่” ติดตามผลกระทบ/การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ “โครงการส่งผลให้เกิดผลกระทบ ทั้งเชิงบวกและลบที่ยอมรับได้หรือไม่” สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียน “มีการดำเนินการปรับปรุงแก้ไขปัญหาอย่างไร และได้ผลมากน้อยเพียงใด”

  21. ตัวอย่างการวางแผนและบริหารโครงการตัวอย่างการวางแผนและบริหารโครงการ โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

  22. โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมโครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม • วัตถุประสงค์โครงการ • 1. สร้างโอกาสประกอบอาชีพด้วยการเป็นผู้ประกอบการ • 2. ผลักดันให้เกิดวิสาหกิจใหม่ ๆ เป็นแหล่งจ้างงาน • 3. เตรียมความพร้อมให้แก่ทายาทธุรกิจสืบทอดกิจการให้รักษาสภาพการจ้างงานและขยายธุรกิจต่อไป • 4. เพิ่มความเข้มแข็งแก่วิสาหกิจขนาดเล็ก ในช่วงก่อตั้งให้สามารถอยู่รอดและรักษาสภาพการจ้างงาน • ลักษณะโครงการ • โครงการให้บริการ (ซึ่งอยู่ใน Flagship) • ระยะเวลาโครงการ • เริ่มโครงการปี 2545-2554 (10 ปี) • งบประมาณโครงการ • 3,645.4 ล้านบาท

  23. โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการโครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อม คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ 1 ส่วนที่ 2 วัตถุประสงค์: ขั้นตอนที่ 1 เพื่อแสดงตัวอย่างการใช้คู่มือในการทบทวนโครงการ วิธีการทบทวน: ใช้คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับ ส่วนราชการ ในส่วนที่ 2 ขั้นตอน 1 ในการทบทวน/ตรวจสอบผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา

  24. ดำเนินการโครงการต่อเนื่องดำเนินการโครงการต่อเนื่อง ขยายผลโครงการ ยกเลิก โครงการ ติดตาม และเฝ้าดู การวางแผนและบริหารโครงการ 1. ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผล การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา 2. ริเริ่มโครงการใหม่ และการวิเคราะห์เบื้องต้น ตัดสินใจ 3. วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรรงบประมาณ 5. ติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ 6. ประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

  25. สารบัญ คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ คู่มือ หน้า iii ขั้นตอนที่ 1 ทบทวน/ตรวจสอบ ผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนย่อย 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 P.15 P.20 ขั้นตอนที่ 1.1 P.23 ขั้นตอนที่ 1.2 ขั้นตอนที่ 1.3 P.29 ขั้นตอนที่ 1.4 P.32 P.35 ขั้นตอนที่ 1.5

  26. ขั้นตอนที่ 1.1 (หน้า 21) ขั้นตอนที่ 1.1 ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพโครงการ แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 (P.20) ขั้นตอนที่ 1.2 ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 ขั้นตอนที่ 1.5

  27. ขั้นตอนที่ 1.2 (หน้า 25) • ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิตที่ได้รับจริงจากโครงการ SME (Actual) เปรียบเทียบกับเป้าหมายและตัวชี้วัด (Target and Indicators)ที่กำหนดไว้ ซึ่งโดยทั่วไปการทบทวน/ตรวจสอบผลผลิตจะพิจารณาจากตัวชี้วัด 4 มิติ ได้แก่ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตัวชี้วัดความทันต่อเวลา ตัวชี้วัดเชิงความคุ้มค่าเงิน ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 (P.23) ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 ขั้นตอนที่ 1.5

  28. ขั้นตอนที่ 1.2 (หน้า 26) • ผลลัพธ์โครงการ SME ที่เกิดขึ้นที่ได้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่ อย่างไร และเกิดผลลัพธ์ที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้หรือไม่ และส่งผลอย่างไร • ผลลัพธ์โครงการ SME ที่เกิดขึ้นมีประโยชน์ต่อหน่วยงาน/ภารกิจของหน่วยงานอย่างไร • กลุ่มเป้าหมายพึงพอใจกับผลลัพธ์โครงการ SME ที่เกิดขึ้นหรือไม่ อย่างไร ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ทบทวน/ตรวจสอบผลลัพธ์ 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 (P.23) ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 ขั้นตอนที่ 1.5

  29. ขั้นตอนที่ 1.2 (หน้า 27) • ผลกระทบโครงการ SME ที่เกิดขึ้นเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่ /เป็นไปตามสมมุติฐานที่กำหนดหรือไม่ • มีผลกระทบอื่นๆ ที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้เกิดขึ้นหรือไม่ และส่งผลอย่างไร ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ทบทวน/ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้น 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 (P.23) ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 ขั้นตอนที่ 1.5

  30. ขั้นตอนที่ 1.3 (หน้า 29) • กลุ่มเป้าหมายโครงการ SME มีลักษณะอย่างไร เช่น สถานภาพ และอาชีพ เป็นต้น • กลุ่มเป้าหมายโครงการ SME มีปริมาณเท่าไร • กลุ่มเป้าหมายโครงการ SME มีสภาพความต้องการในปัจจุบันอย่างไร เช่น วิชาชีพ หรือเงินทุน เป็นต้น • กลุ่มเป้าหมายโครงการ SME มีความต้องการ/ความคาดหวังในปัจจุบันอย่างไร ขั้นตอนที่ 1.3 ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ กลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้เสีย 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 ขั้นตอนที่ 1.3 (P.29) ขั้นตอนที่ 1.4 ขั้นตอนที่ 1.5

  31. ขั้นตอนที่ 1.4 (หน้า 32) • อะไร คือ ปัญหาและอุปสรรคซึ่งทำให้โครงการ SME ไม่เป็นไปตามแผนการดำเนินการที่กำหนด • อะไร คือ ปัจจัยซึ่งส่งผลกระทบต่อระยะเวลาดำเนินโครงการ SME งบประมาณ และประสิทธิภาพของโครงการ ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวน/ตรวจสอบปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ปัญหา อุปสรรค 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 (P.32) ขั้นตอนที่ 1.5

  32. ขั้นตอนที่ 1.4 (หน้า 32) • ผู้รับผิดชอบโครงการ SME มีแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการอย่างไร • ผลที่ได้รับจากการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของโครงการ SME เป็นอย่างไร ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวน/ตรวจสอบปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ แนวทางแก้ไขปัญหา 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 (P.32) ขั้นตอนที่ 1.5

  33. ขั้นตอนที่ 1.5 พิจารณาตัดสินใจ คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 1.5 (หน้า 35) รวบรวมและวิเคราะห์ผลการทบทวน (1) สถานภาพของโครงการ (2) ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น (3) กลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (4) ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขเพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาประกอบการตัดสินใจ 1 ส่วนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 1.2 ขั้นตอนที่ 1.3 ขั้นตอนที่ 1.4 • ดำเนินโครงการต่อ • ยกเลิกโครงการ • ชะลอโครงการเพื่อศึกษาเพิ่มเติมและปรับปรุงข้อมูล • ขยายผลโครงการเพื่อจัดทำโครงการต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ 1.5 (P.35)

  34. แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลโครงการระดับผลลัพธ์ โดย รศ.ดร. นวลน้อย ตรีรัตน์ 10 เมษายน 2550

More Related