1 / 12

วิสัยทัศน์ บทบาท การดำเนินงานของ

วิสัยทัศน์ บทบาท การดำเนินงานของ. สำนักโรคไม่ติดต่อ. โดย. นายแพทย์ภา นุวัฒน์ ปานเกตุ. ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ. ณ โรงแรมมิรา เคิล แก รนด์ คอน เวนชั่น กรุงเทพฯ. วันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕. วิสัยทัศน์.

chynna
Download Presentation

วิสัยทัศน์ บทบาท การดำเนินงานของ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิสัยทัศน์ บทบาท การดำเนินงานของ สำนักโรคไม่ติดต่อ โดย นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ วันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

  2. วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์การชั้นนำด้านวิชาการในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ของประเทศที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ ภายใน ปี ๒๕๕๘ และระดับนานาชาติ ภายใน ปี ๒๕๖๓ ”

  3. พันธกิจ ๑. พัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บที่ได้มาตรฐานสากล • ๒. ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เทคโนโลยีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ให้กับภาคีเครือข่ายและประชาชน ๓. ผลักดันนโยบายสาธารณะและมาตรการป้องกันโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ๔. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บในระดับประเทศ • ๕. ประสานความร่วมมือและพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย

  4. ยุทธศาสตร์ • ๑. ส่งเสริมศักยภาพและประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายภายในประเทศและนานาชาติในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุม โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ๒. เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ นโยบาย มาตรการ นวตกรรม การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บที่ได้มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ ๓. พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ และประชาสัมพันธ์โรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ๔. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บในระดับประเทศ ๕. พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและศักยภาพบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูง

  5. จุดเน้นการดำเนินงาน ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี ๒๕๕๖ ๑. ลดการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และโรคความดันโลหิตสูง ๒. เร่งรัดการดำเนินงานตามทศวรรษความปลอดภัยทางถนน ๓. การป้องกันเด็กจมน้ำ

  6. ยุทธศาสตร์อาเซียนในสามกลุ่มสำคัญยุทธศาสตร์อาเซียนในสามกลุ่มสำคัญ Internal Cluster การสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียนที่มีประสิทธิภาพขีดความสามารถการแข่งขันสูงและมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ASEAN Strategy ยุทธศาสตร์อาเซียน Regional Cluster การส่งเสริมความเป็นศูนย์กลางของอาเซียนในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก Global Cluster การส่งเสริมบทบาทของอาเซียนในเวทีโลก

  7. กลไกระดับอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council : ACC) คณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security CommunityCouncil) คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Council) คณะมนตรีประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Council) การประชุมรมต./จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Defense Ministers Meeting - ADMM การประชุมรมต./จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Finance Ministers Meeting - ADMM การประชุมรมต./จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Minister Meeting on Social Welfare and Development - AMSWD คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Conectivity Coordination Committee : ACCC)

  8. การติดตามความคืบหน้าระดับอาเซียนการติดตามความคืบหน้าระดับอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กำหนดกรอบกว้าง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน AEC Blueprint ASCC Blueprint APSC Blueprint AEC Scorecard อยู่ระหว่างทำ ASCC Scorecard แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity) กำลังหารือเรื่องการทำ Scorecard และ Matrix of Implementation

  9. กลไกระดับประเทศ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ คณะกรรมการสำหรับคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน(อยู่ระหว่างการจัดตั้ง) คณะกรรมการการดำเนินการเพื่อจัดตั้งการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะอนุกรรมการดำเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน

  10. การติดตามความคืบหน้าระดับประเทศการติดตามความคืบหน้าระดับประเทศ แผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการแห่งชาติ แผนงานระดับกระทรวง

  11. ภารกิจเร่งด่วน การเตรียมความพร้อมภายในประเทศ ผลักดันการร้างประชาคมอาเซียนให้อยู่ในร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 การเตรียมความพร้อม ส่วนราชการ การสร้างความตระหนักรู้และเตรียมความพร้อม ในภาคการศึกษา ในภาคประชาชน การดำเนินการอย่างเข้มข้นเพื่อสร้างประชาคมและในการมีปฏิสัมพันธ์กับภายนอก ปรับโครงสร้างส่วนราชการเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ฝึกให้ข้าราชการให้มีความพร้อม

  12. การพัฒนาองค์กรให้ได้ภาพที่ต้องการการพัฒนาองค์กรให้ได้ภาพที่ต้องการ เราทุกคนร่วมกันทำได้และต้องสำเร็จอย่างแน่นอน สวัสดี

More Related