1 / 22

ความต้องการและแนวทาง การพัฒนาทันตบุคลกรในส่วนภูมิภาค

ความต้องการและแนวทาง การพัฒนาทันตบุคลกรในส่วนภูมิภาค. การประชุม สรุปผลการตรวจราชการกองทุนทันตกรรมรอบที่ ๑และเตรียมการตรวจราชการฯ. ทิพาพร สุโฆสิต สถาบันพระบรมราชชนก กสธ. ๒๘/๐๔/๑๑. สถานการณ์. นโยบายรพ.สต. การเกิดกองทุนทันตกรรม. นโยบายรพ.สต. นโยบายรัฐบาล ปี ๒๕๕๒.

christmas
Download Presentation

ความต้องการและแนวทาง การพัฒนาทันตบุคลกรในส่วนภูมิภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความต้องการและแนวทางการพัฒนาทันตบุคลกรในส่วนภูมิภาคความต้องการและแนวทางการพัฒนาทันตบุคลกรในส่วนภูมิภาค การประชุม สรุปผลการตรวจราชการกองทุนทันตกรรมรอบที่ ๑และเตรียมการตรวจราชการฯ ทิพาพร สุโฆสิต สถาบันพระบรมราชชนก กสธ. ๒๘/๐๔/๑๑

  2. สถานการณ์ • นโยบายรพ.สต. • การเกิดกองทุนทันตกรรม

  3. นโยบายรพ.สต. นโยบายรัฐบาล ปี ๒๕๕๒ รัฐบาล แถลงนโยบายด้านสาธารณสุข ข้อ ๓.๓.๓ปรับปรุงบริการด้านสาธารณสุข.......... ..... ยกระดับสถานีอนามัยเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

  4. นโยบายรพ.สต. • นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ทำแผนทศวรรษเพื่อการพัฒนารพ.สต. ปี 2553-2562 เป้าหมายและระยะเวลา ระยะแรก ภายในก.ย. 52 จำนวน 1,000 แห่ง ระยะขยายผล ภายในก.ย. 53 จำนวน 1,000 แห่ง ระยะครอบคลุม ก.ย. 62 จำนวนที่เหลือ ระยะติดตามประเมิน ต.ค. 53-ก.ย.62 เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ครั้งที่1 ปี53

  5. นโยบายรพ.สต. ประเภท และจำนวนบุคลากรในรพ.สต.ระดับต่างๆ เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ครั้งที่1 ปี53

  6. กองทุนทันตกรรม การเกิดกองทุนทันตกรรม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปีงบประมาณ ๒๕๕๔

  7. เป้าหมายและความคาดหวังเมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2554 • เกิดความร่วมมือระหว่าง ทันตแพทยสภา กระทรวงสาธารณสุขมหาวิทยาลัย องค์กรทันตแพทย์เอกชน แสะ สปสช. ในการสนับสนุนให้เกิดระบบการจัดบริการด้านทันตกรรมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่เหมาะสม • เกิดระบบบริหารงานทันตกรรม และระบบข้อมูล ไอที ในระดับจังหวัด ที่เอื้อต่อการจัดบริการทันตสุขภาพ และติดตามผลการให้บริการทั้งในหน่วยบริการและพื้นที่ • มีการสนับสนุนการผลิต พัฒนาและกระจายทันตบุคลากรสู่ รพ.สต.และหน่วยบริการปฐมภูมิอื่นๆ • มีการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างเข้มข้น ทั่วถึง และนักเรียน ป.1 ได้รับการบริการทันตกรรมโดยบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรคและรักษาทางทันตกรรม(Comprehensive care) และขยายการเฝ้าระวังในปีถัดไป • มีแผนยุทธศาสตร์ด้านทันตสาธารณสุขระดับประเทศ แผนพัฒนาระบบบริการทันตสาธารณสุขของทุกจังหวัด และแผนดำเนินงานให้บริการ • ทันตกรรมประจำปีของแต่ละ คปสอ. โดยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของแผน 7

  8. การจัดบริการทันตกรรมแบ่งตามกลุ่มเป้าหมายการจัดบริการทันตกรรมแบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายหลัก กลุ่มเป้าหมายรอง

  9. กองทุนทันตกรรม ตัวชี้วัดผลผลิต(บางส่วน) - เด็กนักเรียนชั้น ป.๑ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากในปีการศึกษา ๒๕๕๔ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ - เด็กนักเรียนชั้น ป.๑ได้รับการบริการทันตกรรมผสมผสานอย่างสมบูรณ์ (complete treatment)ไม่น้อยกว่าร้อยละ๒๐ของเด็กป. ๑ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

  10. ผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการในรพ.สต. และให้บริการตามเป้าหมายกองทุนทันตกรรม คือ ทันตาภิบาล ภายใต้การกำกับดูแลของทันตแพทย์

  11. ผู้ให้บริการ/ปริมาณ • ควรมีทันตาภิบาลทุก รพ.สต. จำนวน 9,800 คน • มีทันตาภิบาลแล้ว(สำรวจโดย สป.รพ.สต.) 1,800 คน • ยังขาดอีก 7,000 คน • คิดเฉพาะความต้องการตามโครงสร้างปี 53 5,500 คน • ยังขาดอีก 3,700 คน ปี 2554 (จากการสำรวจกำลังคนในรพ.สต. มค.54 มีทภ. 1,800คนเศษ)

  12. ผู้ให้บริการ/คุณภาพ บทบาททันตาภิบาลในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ที่ไม่สามารถทำได้ คือ • การจัดบริการเชิงรุกในชุมชน (ร้อยละ 57-82) • การจัดบริการรักษาพยาบาลเบื้องต้นในศสช.(ร้อยละ 37-58) • การประเมินสภาวะทันตสุขภาพ/จัดทำโครงการแก้ปัญหา/สร้างเสริมสุขภาพช่องปากระดับพื้นที่ (ร้อยละ 28-38) • การให้บริการส่งเสริมทันตสุขภาพในสถานบริการ ครัวเรือน และชุมชน (ร้อยละ 19-39) • (สุณี วงศ์คงคาเทพ สังเคราะห์งานวิจัย เพื่อจัอทำข้อเสนอกระบวนการพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานทันตฯ)

  13. ผู้ให้บริการ/คุณภาพ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลในศสช. • - ปรับกระบวนทัศน์ใหม่เน้นการส่งเสริมป้องกันแบบการบูรณาการโดยชุมชนมีส่วนร่วม • - เพิ่มศักยภาพการทำงานเป็นทีม มนุษย์สัมพันธ์ คิดเชิงระบบ ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เพื่อให้ปฏิบัติงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ • - พัฒนาศักยภาพด้านบริหารจัดการ การวางแผนประเมินผล ศักยภาพในการดูแลกลุ่มเป้าหมายต่างๆ • - พัฒนาทักษะในด้านการประสานงาน การเข้าชุมชน การสื่อสาร การทำEmpowerment ภาวการณ์เป็นผู้นำฯลฯ • จัดอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลและรักษาเบื้องต้น (สุณี วงศ์คงคาเทพ สังเคราะห์งานวิจัย เพื่อจัอทำข้อเสนอกระบวนการพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานทันตฯ)

  14. ผู้ให้บริการ เพิ่มการผลิตและพัฒนา ทันตาภิบาล

  15. การผลิตทันตาภิบาล • เพิ่มการผลิตทันตาภิบาล จากปีละ 300 เป็น 600 คน ตั้งแต่ปี55 • ปรับการผลิตจาก 2 ปี เป็น 4 ปี • ภายใต้เงื่อนไขให้จังหวัดร่วมจัดการศึกษา ขอเชิญชวนสสจ. และ CUP ร่วมจัดการศึกษา โดยตอบรับอย่างเป็นทางการมาตามหนังสือเชิญชวน

  16. แนวทางการร่วมผลิตทภ.กับจังหวัดแนวทางการร่วมผลิตทภ.กับจังหวัด แนวทางการดำเนินงานของจังหวัดที่เป็นหน่วยร่วมผลิต 1. MOUกับปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2. จัดตั้งศูนย์อำนวยการจัดการศึกษา และคณะกรรมการ 3. แต่งตั้งอาจารย์ของโรงพยาบาลเป็นอาจารย์พิเศษ 4. ประสานการดำเนินการ รวมทั้งนิเทศติดตาม 5. ปฐมนิเทศนักศึกษา 6. จัดสัมมนาวิชาการให้แก่นักศึกษาตามความเหมาะสม

  17. แนวทางการร่วมผลิตทภ.กับจังหวัดแนวทางการร่วมผลิตทภ.กับจังหวัด เกณฑ์มาตรฐานพี่เลี้ยง/อาจารย์พิเศษ ในระดับ สสจ. ๑. เป็นทันตแพทย์ ที่มีประสบการณ์ในการทำงาน ๕ ปีขึ้นไป ๒. เป็นทันตแพทย์/นักวิชาการ/พยาบาล/ทันตาภิบาล/บุคลากรด้านสาธารณสุข ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านสาธารณสุขศาสตร์ขึ้นไป เพื่อเป็นที่ปรึกษาร่วมด้านการวิจัย ๑ คนต่อ นักศึกษา ๔ คน เกณฑ์มาตรฐานอาจารย์พิเศษ (อาจารย์ร่วมสอน) ในระดับรพช. เกณฑ์มาตรฐานพี่เลี้ยง ในระดับ รพ.สต./PCU/สอ.

  18. แนวทางการร่วมผลิตทภ.กับจังหวัดแนวทางการร่วมผลิตทภ.กับจังหวัด แนวทางการฝึก ๑. นักศึกษาไม่เกิน ๔ คนต่อโรงพยาบาล ๒. ฝึกแบบบูรณาการ ๓. มีการประเมินผล การนิเทศติดตาม และจัดสัมมนาวิชาการ ทั้งที่จังหวัดและโรงพยาบาลชุมชน

  19. การพัฒนาทันตาภิบาล • พัฒนาโดยการศึกษาต่อเนื่องเพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน - ตำแหน่ง - การศึกษา/อบรม เพื่อเข้าสู่ตำแหน่ง • พัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการทำงาน โดย - กองทุนทันตกรรม - จังหวัด - CUP

  20. การพัฒนาทันตาภิบาล พัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการทำงานโดยกองทุนทันตกรรมปี๕๔ ๑.พัฒนาความรู้วิชาการทางด้านทันตกรรมและทันตสาธารณสุขใหม่ๆ ๑.๑ โครงการพัฒนาทันตาภิบาลด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและ ทันตกรรมป้องกัน๙ รุ่น ๑.๒ โครงการประชุมวิชาการทันตสาธารณสุข ๕ รุ่น ผู้ช่วยฯ ๑ รุ่น ๒. พัฒนาศักยภาพการทำงานในชุมชน ๒.๑ โครงการเพิ่มศักยภาพการทำงานทันตสาธารณสุขในชุมชน ๖ รุ่น ๒.๒ โครงการเพิ่มศักยภาพการทำงานด้านสร้างเสริมสุขภาพในช่องปาก สำหรับทันตาภิบาลในสสจ. ๑ รุ่น ๓. ประเมินผลและจัดทำข้อเสนอการพัฒนาปี ๕๕

  21. ผู้ให้บริการ/คุณภาพ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลในศสช. • - ปรับกระบวนทัศน์ใหม่เน้นการส่งเสริมป้องกันแบบการบูรณาการโดยชุมชนมีส่วนร่วม • - เพิ่มศักยภาพการทำงานเป็นทีม มนุษย์สัมพันธ์ คิดเชิงระบบ ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เพื่อให้ปฏิบัติงานกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ • - พัฒนาศักยภาพด้านบริหารจัดการการวางแผนประเมินผล ศักยภาพในการดูแลกลุ่มเป้าหมายต่างๆ • - พัฒนาทักษะในด้านการประสานงาน การเข้าชุมชน การสื่อสาร การทำEmpowerment ภาวการณ์เป็นผู้นำฯลฯ • จัดอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลและรักษาเบื้องต้น (สุณี วงศ์คงคาเทพ สังเคราะห์งานวิจัย เพื่อจัอทำข้อเสนอกระบวนการพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานทันตฯ)

  22. Thank You !

More Related