1 / 29

ตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์. ตอนที่ 3. ตารางค่าความจริงของประโยค P Q. ตารางค่าความจริงของประโยค ~Q ~P. จะเห็นว่า P Q กับ ~Q ~P มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณีเราจะกล่าวได้ว่า P Q สมมูล (equivalent) กับ ~Q ~P เพราะฉะนั้นเราสรุปได้ว่า ประโยคสมมูล (Equivalent Sentences)

chiku
Download Presentation

ตรรกศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตรรกศาสตร์ ตอนที่ 3

  2. ตารางค่าความจริงของประโยค P Q

  3. ตารางค่าความจริงของประโยค ~Q ~P

  4. จะเห็นว่า P Q กับ ~Q ~P มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณีเราจะกล่าวได้ว่า P Q สมมูล(equivalent) กับ ~Q ~P เพราะฉะนั้นเราสรุปได้ว่า ประโยคสมมูล (Equivalent Sentences) คือ การที่ประโยค สองประโยคมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี ถือว่าประโยคทั้งสองมีความหมายเหมือนกัน เช่น

  5. เช่น ~ (~P) สมมูลกับ P P Q สมมูลกับ ~PvQ P Q สมมูลกับ (P Q)^(Q P)

  6. ตารางค่าความจริงของ ~(~P) และ P

  7. ตารางค่าความจริงของ P Q และ ~PvQ

  8. ตารางค่าความจริงของ P Q และ (P Q)^(Q P)

  9. สัจนิรันดร์(Tautology) และ ประโยคขัดแย้ง(Contradiction) ประโยคเชิงประกอบที่มีค่าความจริงเป็น T เสมอ ไม่ว่าค่าความจริงของประโยคย่อยแต่ละประโยคจะเป็น T หรือ F ก็ตามเรียกว่า สัจนิรันดร์ (Tautology) และประโยคเชิงประกอบที่มีค่าความจริงเป็น F เสมอไม่ว่าค่าความจริงของประโยคย่อยแต่ละประโยคจะเป็น T หรือ F ก็ตามเรียกว่า ประโยคขัดแย้ง (Contradiction)

  10. ตารางค่าความจริงของ Pv~P เรียกว่า ประโยค Pv~P เป็นสัจนิรันดร์(Tautology)

  11. ตารางค่าความจริงของ P^~P เรียกว่า ประโยค P^~P เป็น ประโยคขัดแย้ง (Contradiction)

  12. การทดสอบความสมเหตุผล(Testing Validity) การอ้างเหตุผลใดๆ เริ่มจาก เหตุหรือข้อกำหนด(Primise) ซึ่งอาจจะมีหลายๆ ข้อได้ ดังนั้นการให้เหตุผลจึงเขียนเป็นประโยคเงื่อนไขของประโยคเชิงประกอบได้เป็น P1^P2^…. Q โดยที่ P1^P2… คือเหตุหรือข้อกำหนด และ Q คือผล หรือ ข้อสรุป

  13. รูปแบบทั่วไปของการอ้างเหตุผล คือ เหตุ: P1 P2 . . ผล: Q

  14. การทดสอบโดยการพิจารณาค่าความจริงการทดสอบโดยการพิจารณาค่าความจริง การที่ประโยค P1^P2… Q เป็น สัจนิรันดร์ (เป็นจริงทุกกรณี) จะถือว่า การอ้างเหตุผลนั้นสมเหตุสมผล (Valid) แต่ถ้าประโยค P1^P2… Q ไม่เป็นสัจนิรันดร์(มีบ้างกรณีเป็นเท็จ) ก็จะถือ ว่าการอ้างเหตุผลนั้น ไม่สมเหตุสมผล(Invalid) เช่น ตัวอย่างเช่น ประโยค P Q และ P เป็นเงื่อนไขของ Q

  15. ตารางค่าความจริงของ ((P Q)^P) Q

  16. เราสามารถเขียนอยู่ในรูปแบบทั่วไปได้คือเราสามารถเขียนอยู่ในรูปแบบทั่วไปได้คือ P Q P Q ตัวอย่าง ถ้าเด็กหญิงปรางดื่มน้ำแล้ว เด็กชายขงเบ้งจะดื่มนม เด็กหญิงปรางดื่มน้ำ เพราะฉะนั้น เด็กชายขงเบ้งจะดื่มนม

  17. ในการทดสอบว่าประโยค P1^P2… Q เป็นสัจนิรันดร์ หรือไม่นั้นปกติเราจะใช้วิธีวิธีทำตาราง ตรวจสอบทุกกรณี ความจริงเราเลือกพิจารณาเฉพาะกรณีที่ เหตุ เป็น T ก็เพียงพอแล้ว โดยยึดหลักว่า หาก ผล เป็น T เท่านั้น แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์สมเหตุสมผล หาก ผล เป็น F แสดงว่า ไม่เป็นสัจนิรันดร์ไม่สมเหตุสมผล

  18. ตัวอย่าง จงตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผลต่อไปนี้ สมบูรณ์ไปว่ายน้ำเฉพาะหน้าร้อนเท่านั้น และเมื่อไรก็ตามที่พิสมัยพักในเมืองสมบูรณ์จะไปว่ายน้ำ แต่ขณะนี้ไม่ใช่หน้าร้อน ดังนั้นขณะนี้พิสมัย ไม่ได้พักในเมือง ถ้า A แทน สมบูรณ์ไปว่ายน้ำ B แทน ขณะนี้เป็นหน้าร้อน C แทน พิศมัยอยู่ในเมือง สามารถเขียนรูปแบบสัญลักษณ์ได้เป็น ((AB)^(CA)^~B)~C

  19. เราสามารถเขียน รูปแบบทั่วไป ของการอ้างเหตุผลคือ AB CA ~B เพราะฉะนั้น ~C FF (จริง) FF (จริง) T (จริง) T (จริง) ซึ่งจะพบว่า ผล ~C เป็น T เท่านั้น แสดงว่าการอ้างเหตุผลข้างต้นนี้สมเหตุสมผล

  20. ตัวอย่าง จงเขียนการให้เหตุผลในรูปประโยคสัญลักษณ์ และทดสอบความสมเหตุสมผล ถ้าสมบัติเรียนหนักแสดงว่าจะมีการสอบ และถ้าสมบัติเรียนหนัก เขาจะไม่นอน ตอนนี้กำลังจะมีการสอบ ดังนั้น สมบัติจะไม่นอน ถ้า A แทน สมบัติเรียนหนัก B แทน จะมีการสอบ C แทน สมบัติไม่นอน สามารถเขียนรูปแบบสัญลักษณ์ได้เป็น ((AB)^(AC)^B)C

  21. เราสามารถเขียน รูปแบบทั่วไป ของการอ้างเหตุผลคือ AB AC B เพราะฉะนั้น C FT (จริง) FF (จริง) T (จริง) F (เท็จ) ซึ่งจะพบว่า ผล C เป็น F ได้ แสดงว่าการอ้างเหตุผลข้างต้นนี้ไม่สมเหตุสมผล

  22. F~(TT) (จริง) (T^T)T (จริง) ตัวอย่าง จงพิสูจน์ข้อโต้งแย้งต่อไปนี้ A~(BC) (D^B)C D เพราะฉะนั้น ~A T (จริง) ~F (จริง) ซึ่งจะพบว่า ผล ~A เป็น T เท่านั้น แสดงว่าการอ้างเหตุผลข้างต้นนี้สมเหตุสมผล

  23. การทดสอบโดย กฎการอ้างอิง (Rule of Inference) โดยเราอ้างอิงจากประโยคที่เป็นสัจนิรันดร์ อยู่แล้ว โดยเมื่อเขียนอยู่ในรูปแบบการอ้างเหตุผล ก็จะเป็นรูปแบบของการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผล ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า สัจนิรันดร์เป็นกฎการอ้างอิง สำหรับการอ้างเหตุผลนั่นเอง เช่น

  24. 1. กฎ Simplification (P^Q) P P^Q เพราะฉะนั้น P 2. กฎ Addition P P^Q P เพราะฉะนั้น P^Q

  25. 3. กฎ Modus Ponens (PQ)^P Q PQ P เพราะฉะนั้น Q 4. กฎ Modus Tollens (PQ)^~Q ~P PQ ~Q เพราะฉะนั้น ~P

  26. ตัวอย่าง จงพิสูจน์การอ้างเหตุผลต่อไปนี้ aq bq เพราะฉะนั้น (avb)q

  27. พิสูจน์ 1. aq เหตุ 2. bq เหตุ 3. ~avq 1,Switcheroo 4. ~bvq 2,Switcheroo 5. (~avq)^(~bvq) 3,4, ประโยครวม 6. (~a^~b)vq 5,Distributive Law 7. ~(avb)vq 6,De morgan 8. (avb)q 7,Switcheroo

  28. ~(~PvQ) ( Pv~Q)

More Related