1 / 34

มุมมองทางวิชาการ FTA ไทย

มุมมองทางวิชาการ FTA ไทย. ดร.สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน 2550. 1. โลกการค้าแบบ FTA: ไทยอยู่ตรงไหน?. การเจรจาการค้าโลก ( WTO ) ในรอบโดฮา ค่อนข้างจะไร้ผล แต่พยายามสรุปให้ทัน ก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯในปีหน้า.

Download Presentation

มุมมองทางวิชาการ FTA ไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มุมมองทางวิชาการ FTA ไทย ดร.สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน 2550

  2. 1. โลกการค้าแบบ FTA: ไทยอยู่ตรงไหน?

  3. การเจรจาการค้าโลก (WTO) ในรอบโดฮา ค่อนข้างจะไร้ผลแต่พยายามสรุปให้ทัน ก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯในปีหน้า

  4. เมื่อระบบพหุภาคีมีความก้าวหน้าน้อย ทางออกของการค้าโลกจึงออกมาในรูป ระบบการค้าภูมิภาคและทวิภาคี (regional and bilateral FTAs/EPAs)

  5. Number of Free Trade Agreements’ Status by Country, 2006

  6. Regional and Bilateral Trade Agreements in ASEAN Notified to the GATT/WTO and in Force (as of 18 July 2007)

  7. ผลกระทบ FTA/EPAs ต่อประเทศสมาชิก ผลบวก • เชิงสถิต: การเพิ่มพูนทางการค้า, การกระจายทรัพยากรดีขึ้น • เชิงพลวัต: การแข่งขันเพิ่มขึ้น การประหยัดต่อขนาด ดึงดูดการลงทุน ผลลบ • เชิงสถิต: การเบี่ยงเบนทางการค้า (ซื้อสินค้าจากแหล่งที่ไม่ถูกที่สุด) • เชิงพลวัต: การจัดการการกระจายรายได้ การปรับตัวอุตสาหกรรม

  8. ผลกระทบต่อประเทศภายนอกผลกระทบต่อประเทศภายนอก ผลบวก การขยายตัวทางเศรษฐกิจของสมาชิกที่เพิ่มขึ้นจะสนับสนุนการติดต่อทางเศรษฐกิจกับประเทศภายนอก ผลลบ การเบี่ยงเบนทางการค้า

  9. 2. FTA ของไทยกับเส้นทางที่ก้าวมา

  10. 2.1 FTA ของไทยที่มีผลบังคับใช้

  11. มี 6 ความตกลงที่มีผลใช้บังคับแล้ว ดังนี้ ลงนาม บังคับใช้ ASEAN 28 Jan 1992 1 Jan 1993 Thai-China 18Jun 2003 1 Oct 2003 (พิกัด 07-08 สินค้าผักผลไม้) Thai-Aus 5Jul 2004 1 Jan 2005 Thai-NZ 19Apr 2005 1 Jul 2005 Thai-India 9 Oct 2003 1 Sep 2004 (สินค้า 82 รายการ) Thai-Japan 3Apr 2007 1 Nov 2007

  12. ตัวเลขการขยายตัวของมูลค่าการค้ารวมตัวเลขการขยายตัวของมูลค่าการค้ารวม Thai-NZ Thai-Aus เริ่มลดภาษี 1 ก.ค. 05 เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 05 Thai-India Thai-China เริ่มลดภาษี 1 ก.ย. 04 เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 04 Import Balance Export Unit: million USD ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

  13. Thailand-China มูลค่าการค้าสินค้า FTA อันตราการเปลี่ยนแปลง • การค้ารวม • ปี 2003=11.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=15.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=20.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=25.3 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=10.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=13.5 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=17.9 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=22.3 พันล้านเหรียญฯ • สินค้านำเข้าFTA • ปี 2003=5.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=7.2 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=9.8 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=11.7 พันล้านเหรียญฯ เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 04 30.5% 33.2% 24.6% 30.8% 32.7% 24.2% Unit: million USD Import Balance Export • ลดภาษีเหลือ 0 • ผัก ผลไม้ (1 ตุลาคม 2546) • - สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม 5,140 รายการ (1 กรกฎาคม 2548) 33.7% 35.4% 19.6% • สินค้าส่งออกFTA • ปี 2003=4.9 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=6.3 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=8.2 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=10.6 พันล้านเหรียญฯ 27.6% 29.6% 29.8%

  14. Thailand-Australia อันตราการเปลี่ยนแปลง มูลค่าการค้าสินค้า FTA • การค้ารวม • ปี 2003=3.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=4.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=6.4 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=7.8 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=3.7 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=4.6 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=6.4 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=7.7 พันล้านเหรียญฯ 25.2% 37.8% 20.7% 25.3% 37.8% 20.5% เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 05 Unit: million USD Balance Import Export ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้าส่วนใหญ่ ภายใน 5 ปี (พ.ศ. 2553) - สินค้าอ่อนไหว ภายใน 20 ปี (อุปกรณ์ไฟฟ้า ผัก ผลไม้ เนื้อ นม และผลิตภัณฑ์นม) เปิดเสรีธุรกิจบริการอย่างค่อยเป็นค่อยไป Thai ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้าทุกรายการ ภายใน 5 ปี เสื้อผ้าสำเร็จรูป ภายใน 10 ปี เปิดเสรีธุรกิจบริการส่วนใหญ่ คนไทยมีโอกาสเข้าไปทำงานได้มากขึ้น Aus

  15. Thailand-New Zealand อันตราการเปลี่ยนแปลง • การค้ารวม • ปี 2003=0.48 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.57 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.77 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.85 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=0.47 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.56 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.77 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.84 พันล้านเหรียญฯ มูลค่าการค้าสินค้า FTA 19.3% 36.6% 9.4% 19.3% 37.0% 8.2% เริ่มลดภาษี 1 ก.ค. 05 Unit: million USD Balance Import Export Thai ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้า 49% ของที่มีการนำเข้าจากนิวซีแลนด์ภายใน 0-5 ปี - สินค้าอ่อนไหว ภายใน 7-20 ปี เปิดเสรีการลงทุนในธุรกิจที่มิใช่บริการ NZ ลดภาษีเหลือ 0 - สินค้าส่วนใหญ่ ภายใน 0-5 ปี - สิ่งทอ เสื้อผ้า รองเท้า ภายใน 10 ปี เปิดให้คนไทยมีโอกาสเข้าไปทำงานได้มากขึ้น

  16. Thailand-India อันตราการเปลี่ยนแปลง มูลค่าการค้าสินค้า FTA • การค้ารวม • ปี 2003=1.5 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=2.0 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=2.8 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=3.4 พันล้านเหรียญฯ • การค้าสินค้า FTA • ปี 2003=0.14 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.22 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.43 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.47 พันล้านเหรียญฯ • สินค้านำเข้าสินค้า FTA • ปี 2003=0.073 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.07 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.09 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.10พันล้านเหรียญฯ เริ่มลดภาษี 1 ก.ย. 04 35.8% 36.9% 22.2% 57.6% 97.9% 8.3% Unit: million USD Import Balance Export • สินค้าส่งออกสินค้า FTA • ปี 2003=0.065 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2004=0.15 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2005=0.34 พันล้านเหรียญฯ • ปี 2006=0.36 พันล้านเหรียญฯ 4.1% 27.7% 13.5% 126.8% 113.1% 6.9% ปัจจุบัน อยู่ในระหว่างการเจรจาเปิดเสรีเพื่อลดภาษีศุลกากรในส่วนที่เหลือ และการเปิดเสรีการลงทุน และการบริการ เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าของอินเดียที่มีค่อนข้างมาก

  17. Thailand-Japan มูลค่าการค้ารวม โครงการความร่วมมือในกรอบ JTEPA ได้แก่ 1. โครงการความร่วมมือเพื่อสนับสนุนโครงการครัวไทยสู่โลก 2. โครงการอนุรักษ์พลังงาน 3. โครงการเศรษฐกิจสร้างมูลค่า 4. โครงการหุ้นส่วนภาครัฐและเอกชน 5. โครงการอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 6. โครงการอุตสาหกรรมเหล็ก 7. โครงการสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ Unit: million USD Import Balance Export การค้าสินค้า ลด/ยกเลิกภาษีมากกว่า 90% ของรายการสินค้าและมูลค่าการนำเข้า การค้าบริการ ไทยสามารถไปลงทุนเปิดกิจการและทำงานในญี่ปุ่นได้มากขึ้นและง่ายขึ้น การลงทุน ให้บริษัทไทย/คนไทยเข้าไปลงทุนในทุกสาขา ยกเว้น อุตสาหกรรมผลิตยา

  18. Thailand-ASEAN มูลค่าการค้ารวม เริ่มลดภาษี 1 ม.ค. 93 Unit: Percent Unit: million USD Import Balance Export Growth of total trade

  19. 2.2 ความคืบหน้าของ FTA ที่เหลือ

  20. ASEAN-Korea ทำการเจรจาทั้งสิ้น 20 ครั้ง ล่าสุดเมื่อวันที่ 2-5 ตุลาคม 2007 ณ กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว มีสาระสำคัญดังนี้ • ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้า • • ผลประโยชน์ที่เสียไปจากการลดภาษีล่าช้ากว่ากำหนด เสนอให้เกาหลีชดเชยผ่านโครงการความร่วมมือ ให้กับอาเซียนทุกประเทศด้วยวิธีการเดียวกัน และเท่าเทียมกัน เพราะง่ายต่อการปฏิบัติ • • สินค้าโควตา เวียดนามต้องการให้เกาหลียกปริมาณโควตาที่นำเข้าไม่หมดในปี 2007 ไปรวมกับปริมาณโควตาปี 2008 • ความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ • เกาหลีสามารถสรุปผลการเจรจาข้อผูกพันกับอาเซียนแล้ว 8 ประเทศ เหลือเพียงไทยและฟิลิปปินส์ โดยไทยเรียกร้องให้เกาหลีเปิดตลาดให้บุคลากรไทยเข้าไปทำงานในเกาหลีผ่านสัญญาจ้าง • ความตกลงว่าด้วยการลงทุน • • เกาหลีแสดงความยืดหยุ่นในการเจรจามากขึ้น โดยยอมรับท่าทีของอาเซียนถ้าอาเซียนตกลงที่จะขยายสิทธิประโยชน์ของความตกลงอื่นที่อาเซียนหรือประเทศสมาชิกอาเซียนให้กับประเทศนอกภาคีแก่เกาหลีโดยอัตโนมัติ (Automatic MFN)

  21. ASEAN-EU ทำการเจรจามาแล้ว 2 ครั้ง ล่าสุดวันที่ 21-23 ตุลาคม 2007 ณ ประเทศสิงคโปร์ มีสาระสำคัญดังนี้ การลงทุน สหภาพยุโรปจะเจรจาเฉพาะเรื่องการเปิดตลาดเท่านั้น เนื่องจากการคุ้มครองและการส่งเสริมการลงทุน เป็นสิทธิและอำนาจของประเทศสมาชิก ประเด็นที่ทั้งสองฝ่ายมีความเห็นแตกต่างกัน • การปฏิบัติที่เป็นพิเศษและแตกต่างกัน สหภาพยุโรปเห็นด้วยที่จะให้มีระยะเวลาลดภาษีที่ยาวกว่าสำหรับประเทศกำลังพัฒนา อาเซียนเห็นว่าสหภาพยุโรปซึ่งเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ควรเปิดตลาดมากกว่าและเร็ว • วิธีการทำงาน สหภาพยุโรปเห็นว่าเอกสารต่างๆ ที่จะมีการประชุมหรือหารือ ควรจัดส่งให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบและให้ความเห็นอย่างน้อย 2 สัปดาห์ล่วงหน้าก่อนการประชุม การเจรจาครั้งต่อไป จะมีการประชุมคณะกรรมการร่วมจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน - สหภาพยุโรป ครั้งที่ 3 ในเดือนมกราคม 2008 ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม

  22. ASEAN-Japan ทำการเจรจามาแล้ว 9 รอบ ครั้งล่าสุดวันที่ 6-9 สิงหาคม 2007 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ มีสาระสำคัญดังนี้ การเปิดตลาดสินค้า • การลดภาษีสินค้าปกติ (NT) ของญี่ปุ่นเป็นไปตาม Modality ที่ได้ตกลงในหลักการแล้ว คือ ร้อยละ 92 ของมูลค่านำเข้าของญี่ปุ่นจากอาเซียน (Trade Value: TV) และรายการสินค้าทั้งหมด (Tariff Line: TL) • สินค้าในกลุ่ม Exclusion List ร้อยละ 1 ของมูลค่านำเข้าของญี่ปุ่นจากอาเซียนแล้ว ญี่ปุ่น ยังมีสินค้าในกลุ่ม C (Stand Still) สูงถึงร้อยละ 2.98 ของ TV การค้าบริการ กล่าวคือระบุให้จัดตั้ง Sub-committee ภายใน 1 ปี หลังจากความตกลงมีผลบังคับใช้ เพื่อมุ่งให้เกิดการเปิดเสรีระหว่างกันต่อไป การลงทุน ญี่ปุ่น ได้ยอมรับข้อเสนอเดิมของอาเซียน โดยยอมตัด Text เรื่องการเปิดเสรี(Liberalization) และการคุ้มครอง (Protection) แต่ต้องมีรายงานสรุปการหารือระบุว่า อาเซียนจะพิจารณาข้อเรียกร้องของญี่ปุ่น ที่ต้องการให้อาเซียนให้สิทธิประโยชน์แก่นักลงทุนญี่ปุ่นเท่ากับนักลงทุนอาเซียนภายใต้ AIA Agreement และให้ MFN แก่นักลงทุนญี่ปุ่นโดยเร็วที่สุด

  23. ASEAN-India ทำการเจรจามาแล้ว 17 ครั้ง มีสาระสำคัญได้ดังนี้ การลดภาษีสินค้า • สินค้าลดภาษีเป็น 0% (Normal Track: NT) ให้ลดภาษีสินค้าส่วนใหญ่ภายในปี 2011 (NT 1) และอย่างช้าสุดภายในปี 2015 (NT 2) ซึ่งในเบื้องต้นกำหนดให้มีสินค้าจำนวน 80% ของรายการสินค้าทั้งหมด • สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List: SL)ตกลงในหลักการสำหรับสินค้าอ่อนไหวที่จะยกเลิกภาษีในปี 2018 ในเบื้องต้นควรมีจำนวน 2-3 ของพิกัดฯ และให้มีการทบทวนเพิ่มจำนวนในภายหลัง • สินค้าพิเศษ (Special Products: SPs) อินเดียตกลงลดภาษีน้ำมันปาล์ม ชา กาแฟ และพริกไทย ระหว่างปี 2008-2018 อัตราภาษีสุดท้ายเป็น 50-60% แต่มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ขอให้อินเดียลดอัตราภาษีให้ต่ำลงอีก การเจรจาครั้งต่อไป การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย ครั้งที่ 18 เดิม กำหนดในปลายเดือนกันยายน 2007 ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย แต่การประชุมได้เลื่อนออกไปก่อน

  24. ASEAN- Aus-NZ ทำการเจรจามาแล้ว 11 ครั้ง ล่าสุดเมื่อวันที่ 21-28 กันยายน 2007 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย มีสาระสำคัญได้ดังนี้ การค้าสินค้า • การลดภาษีสินค้า ที่ประชุมยังไม่ได้ข้อสรุปเพิ่มเติม • ร่างข้อบทการค้าสินค้า ยังมีหลายประเด็นที่จะต้องหารือกันต่อไป มาตรการ SPS และ STRACAP สามารถสรุปการเจรจาได้แล้ว โดยเหลือเพียงประเด็นการระงับข้อพิพาทที่จะขอให้ที่ประชุมพิจารณาต่อไป กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ซึ่งยังมีประเด็นที่จะต้องหาข้อสรุปต่อไป การค้าบริการ อาเซียนยังไม่มีท่าทีร่วมกันในเรื่อง MNP การลงทุน ยังไม่ได้ข้อสรุปสำหรับประเด็นสำคัญ การเจรจาครั้งต่อไป การเจรจาจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ครั้งที่ 12 ระหว่างวันที่ 10-14 ธันวาคม 2007 ณ เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา

  25. BIMSTEC ทำการเจรจามาแล้ว 15 ครั้ง ครั้งล่าสุด 24-26 กันยายน 2007 ณ กรุงธากา ประเทศบังคลาเทศ มีสาระสำคัญดังนี้ • การเปิดตลาดการค้าสินค้า • • ที่ประชุมได้มีการหารือในเบื้องต้น ใช้ General Rule ในการพิจารณาแหล่งกำเนิดสินค้า • ใช้เกณฑ์ CTSH+Local content 35% สำหรับประเทศกำลังพัฒนา • ใช้เกณฑ์ CTSH+Local content 30% สำหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด • • การลดภาษีสินค้าปกติ (Normal Track) ได้ตกลงแบ่งการลด/ยกเลิกภาษีสินค้า Normal Track ออกเป็น 2 กลุ่ม • กลุ่มที่จะลดภาษีเหลือ 0 (Normal Track Elimination: NTE) • กลุ่มที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 1-5 (Normal Track Reduction:NTR) • กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules: PSRs) • ให้แต่ละประเทศสมาชิกจัดทำรายการสินค้าส่งออกสำคัญ จำนวน 25 รายการ ที่ต้องการใช้ PSRs • มาตรการปกป้อง (Safeguard) ที่ประชุมยังไม่สามารถหาข้อสรุป • ข้อกำหนดสินค้าผ่านแดน (Goods in Transit) ยังไม่สามารถหาข้อสรุป • การประชุม BIMSTEC TNC ครั้งที่ 16 กำหนดจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-16 • พฤศจิกายน 2007 ที่ประเทศอินเดีย

  26. สถานการณ์ล่าสุด Thai-ASEAN ลงนาม AEC Blueprint Nov 2007 มีผลบังคับใช้หลังจากการลงนาม คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1Jan2008 Thai-Peru ลงนาม 19 Nov 2005 Thai-USA ระงับเจรจาเป็นการชั่วคราว โดยมีการสานต่อความสัมพันธ์ทางการค้าและการหารือในประเด็นต่างๆได้ตามปกติ Thai-Bahrain • ยังไม่มีผลบังคับใช้ • 2005 มีเสนอให้เจรจาแบบเขตการค้าเสรีไทย-GCC เพื่อความเหมาะสมแทน • 2006 FTA ไทย-บาห์เรนน่าจะดำเนินการต่อเนื่องจากบาห์เรนไม่ผูกพันกับ GCC

  27. 3. ก้าวต่อไปสำหรับ FTA ของไทย

  28. ประเด็นข้อคิด • วิสัยทัศน์(Vision) มีมากพอแล้ว คำถามตอนนี้คือการจัดการในทางปฏิบัติ(implementation management) ทำอย่างไร • เรื่องเร่งด่วนคือการจัดการความลักลั่น(discrimination) ที่จะกลายเป็นความขัดแย้งของผลประโยชน์ (conflict of interest) • เรามักพูดถึงผลบวกของ FTA ที่มีต่อสังคมโดยกว้างและอุตสาหกรรมที่ได้รับประโยชน์ • แต่ผลลบที่เป็นต้นทุนการปรับตัวส่วนอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมที่ปรับตัวลำบาก การปรับตัวของแรงงาน ผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น การเมืองไม่ได้เอาใจใส่เท่าที่ควร • แล้วจะสร้างความสมดุลในการบริหารจัดการ FTA ไทยได้อย่างไรโดยเฉพาะหลังการเลือกตั้ง

  29. ผลกระทบและแนวทางการปรับตัวผลกระทบและแนวทางการปรับตัว • เป็นเรื่องปฏิบัติที่มีผลกระทบกว้างขวางมากกว่าที่ใคร/หน่วยงานใด/พรรคการเมืองใดจะดำเนินการเพียงลำพัง • ต้องมีกระบวนการประชาธิปไตยรองรับ(democratic process) โดยมีนโยบายระดับชาติที่มีคนและระบบจัดการเชื่อมโยงอย่างเป็นกิจลักษณะ • จัดการแนวทางการปรับตัวที่ชัดเจนและมั่นคงเพื่อรองรับการได้และเสียประโยชน์โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ไม่สามารถแข่งขันและถูกทดแทนโดยการนำเข้า • FTA มีลักษณะดำเนินการแบบยื่นประโยชน์ให้แก่กันและกันระหว่างประเทศคู่ค้า ซึ่งเป็นเรื่องการเจรจาต่อรองและมีรายละเอียดในทางปฏิบัติค่อนข้างมาก จึงอาจถูกแทรกแซงจากการเมืองได้ง่ายและก่อให้เกิดการสูญเสียกำลังในการทำประโยชน์ทางนโยบายการค้าให้กับประเทศในระดับรวมไป

  30. อุปสรรคและปัญหาบางประการที่สำคัญอุปสรรคและปัญหาบางประการที่สำคัญ • แหล่งกำเนิดสินค้า (rules of origin) • มาตรฐานสินค้า (standard and conformity) • สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา • มาตรการจำกัดการนำเข้าที่ไม่ใช่ภาษีอื่นๆ เช่น โควตา เป็นต้น • สิ่งแวดล้อม • การเคลื่อนย้ายคน/แรงงาน • การเปิดเสรีบริการ • การเปิดเสรีการลงทุน

  31. ทางเดินข้างหน้า(หลังการเลือกตั้ง)ทางเดินข้างหน้า(หลังการเลือกตั้ง) • สร้างความเป็นประชาธิปไตยให้ FTAไทย(มาตรการ 190 และอื่นๆ) ในการทำประโยชน์ให้กับประเทศ • ยังคงออกเส้นทางนี้ไม่ได้ FTAของไทยยังต้องก้าวต่อไป (competitive liberalization) ในบริบทภูมิภาคและโลก • มีแนวโน้มเบี่ยงเบนจาก WTO ดังนั้นต้องเกาะติดหลักการและการดำเนินการในทางปฏิบัติที่เหมาะสมให้มาก • กำหนดท่าทีและยุทธศาสตร์ FTAของเราอย่างต่อเนื่องและชัดเจนโดยร่วมมือกันกับประเทศอื่นๆ (collective action) เช่น ASEAN, East Asia, East Asia Plus, Asia Pacific

  32. ขอบคุณ

More Related