1 / 65

การคลังสาธารณะ

การคลังสาธารณะ. การคลังสาธารณะ. การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล. งบประมาณแผ่นดิน. งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่ายของรัฐบาล ในระยะเวลา 1 ปี. ปีงบประมาณ. งบประมาณปี 2546. 1 ตุลาคม 2545 ถึง 30 กันยายน 2546. ประเภทของงบประมาณ.

Download Presentation

การคลังสาธารณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคลังสาธารณะ

  2. การคลังสาธารณะ • การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล

  3. งบประมาณแผ่นดิน • งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่ายของรัฐบาลในระยะเวลา 1 ปี

  4. ปีงบประมาณ งบประมาณปี 2546 1 ตุลาคม 2545 ถึง 30 กันยายน 2546

  5. ประเภทของงบประมาณ : งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี • งบประมาณสมดุล(Balance Budget) • งบประมาณไม่สมดุล(Unbalance Budget) : งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้วไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี

  6. งบประมาณไม่สมดุล(Unbalance Budget) ถ้ารายได้ > รายจ่ายเรียกว่า "งบประมาณเกินดุล" ถ้ารายได้ < รายจ่ายเรียกว่า "งบประมาณขาดดุล"

  7. ดุลงบประมาณของประเทศไทยดุลงบประมาณของประเทศไทย หน่วย : ล้านบาท ที่มา : กรมบัญชีกลาง

  8. งบประมาณรายรับ : การประมาณการของรัฐบาลว่าจะมีรายรับทั้งหมดเท่าใดในระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ งบประมาณรายรับประกอบด้วย • รายได้ • เงินกู้ • เงินคงคลัง

  9.  รายได้ • รายได้จากภาษีอากร • รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ • รายได้จากรัฐพาณิชย์ • รายได้อื่นๆ

  10. เมื่อรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายเมื่อรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย เงินกู้ • เงินที่รัฐบาลกู้มาใช้จ่ายจากแหล่งต่างๆทั้งภายในและภายนอกประเทศ • หนี้สาธารณะ • หนี้ภายในประเทศ, หนี้ภายนอกประเทศ • หนี้ระยะสั้น, ระยะปานกลาง, ระยะยาว

  11. หนี้สาธารณะคงค้าง หน่วย : พันล้านบาท

  12. หนี้สาธารณะคงค้าง (ต่อ) หน่วย : พันล้านบาท

  13. หนี้สาธารณะคงค้าง (ต่อ) หน่วย : พันล้านบาท ที่มา : กระทรวงกรคลัง

  14. เงินคงคลัง • เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อนๆซึ่งรัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถนำมาใช้ในปีที่มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้

  15. ประมาณการรายรับ หน่วย : ล้านบาท

  16. รายได้จากภาษีอากร • ภาษีคือเงินที่ประชาชนถูกบังคับเก็บจากรัฐบาล เพื่อนำไปใช้จ่ายในการดำเนินกิจการของรัฐ • แยกได้ 2 ประเภท คือ • ภาษีทางตรง • ภาษีทางอ้อม

  17. ภาษีทางตรง : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายจะต้องรับภาระภาษีไว้เอง โดยจะผลักไปให้ผู้อื่นได้ยาก : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้นิติบุคคลภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีที่ดินภาษีมรดกเป็นต้น

  18. ภาษีทางอ้อม : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ง่าย : ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิตภาษีศุลกากร ภาษีสินค้าขาเข้า – ขาออกเป็นต้น

  19. อัตราภาษี • อัตราคงที่(proportionalrate) • อัตราก้าวหน้า(progressive rate ) • อัตราถอยหลัง( regressive rate )

  20. อัตราภาษีแบบคงที่ ( proportional rate) : อัตราภาษีที่จัดเก็บในอัตราเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงขนาดของฐานภาษี : ภาษีมูลค่าเพิ่ม

  21. อัตราภาษีแบบก้าวหน้า(progressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตราแต่อัตราภาษีจะสูงขึ้นเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  22. อัตราภาษีแบบถอยหลัง ( regressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตราแต่อัตราภาษีจะลดลงเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น : ภาษีสรรพสามิต

  23. อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง

  24. หลักในการจัดเก็บภาษี • หลักความเป็นธรรม ( equity ) • หลักความแน่นอน( certainty ) • หลักความสะดวก( convenience ) • หลักประหยัด( economy )

  25. วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากรวัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร • เพื่อหารายได้ • เพื่อการควบคุม • เพื่อการกระจายรายได้ • เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ • เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ • เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

  26. งบประมาณทางด้านรายจ่ายงบประมาณทางด้านรายจ่าย

  27. เปรียบเทียบงบประมาณรายจ่ายกับ GDP หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ

  28. การจำแนกรายจ่ายตามลักษณะงานการจำแนกรายจ่ายตามลักษณะงาน : การจำแนกงบประมาณรายจ่ายออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะงานที่รัฐจะดำเนินการในแต่ละด้าน

  29. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะงานงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะงาน หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ

  30. การจำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจการจำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจ : การจำแนกงบประมาณรายจ่ายออกเพื่อแสดงให้เห็นผลทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการใช้จ่ายเงินของรัฐบาล : รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายประจำ และรายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้

  31. รายจ่ายเพื่อการลงทุน • รายจ่ายเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและรายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่งครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง • รายจ่ายประจำ • รายจ่ายเพื่อการบริหารงานประจำเงินรายจ่ายประเภทเงินเดือนค่าจ้างและรายจ่ายเพื่อสวัสดิการแก่ข้าราชการ

  32. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ

  33. การจำแนกรายจ่ายตามส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจการจำแนกรายจ่ายตามส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ : รายจ่ายของหน่วยงานต่างๆ ของประเทศ

  34. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวงงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง หน่วย : ล้านบาท

  35. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ)งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ) หน่วย : ล้านบาท

  36. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ)งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง(ต่อ) หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ

  37. การจำแนกรายจ่ายตามแผนงานการจำแนกรายจ่ายตามแผนงาน : การจำแนกรายจ่ายตามแผนงานด้านต่างๆ ของรัฐบาล

  38. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงานงบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน หน่วย : ล้านบาท

  39. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท

  40. งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามแผนงาน (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงบประมาณ

  41. นโยบายการคลัง • นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหารายได้การใช้จ่าย และการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม รวมทั้งให้มีผลต่อการเร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจและระดับการจ้างงานของประเทศ รวมไปถึงเพื่อส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้ให้เป็นธรรมยิ่งขึ้น

  42. นโยบายการคลัง แบบขยายตัว แบบหดตัว เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบตั้งใจ แบบอัตโนมัติ ด้านรายได้ ภาษีอัตราก้าวหน้า ด้านรายจ่าย เงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน

  43. ลูกโป่งGDP แฟบ(เศรษฐกิจตกต่ำ) ลูกโป่งGDP ตึงมาก(เศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไป) เป่าลมเข้าไปในลูกโป่ง ปล่อยลมออกจากลูกโป่ง ลูกโป่งGDP จะโตขึ้น ลูกโป่งGDP จะแฟบลง ลูกโป่งสวยพอดี ลูกโป่งสวยพอดี

  44. ลูกโป่งGDP แฟบ เป่าลมเข้า ปล่อยลมออก GDP = C + I + G + ( X - M ) ลูกโป่งGDP ตึงมาก GDP = C + I + G + ( X - M )

  45. เครื่องมือของนโยบายการคลังแบบตั้งใจเครื่องมือของนโยบายการคลังแบบตั้งใจ

  46. ทางด้านรายได้หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีทางด้านรายได้หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ลดอัตราภาษี ลูกโป่งGDP แฟบ GDP = C + I + G + ( X - M ) เพิ่มอัตราภาษี ลูกโป่งGDP ตึงมาก GDP = C + I + G + ( X - M )

  47. ลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา รายได้สุทธิส่วนบุคคล (DI) เพิ่มขึ้น รายจ่ายเพื่อบริโภคสูงขึ้น (C )

  48. ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล รายได้กลุ่มธุรกิจสูงขึ้น รายจ่ายเพื่อการลงทุนสูงขึ้น (I )

  49. ลดภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น ความต้องการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น GDP เพิ่มขึ้น

  50. ทางด้านรายจ่ายหรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้จ่ายของรัฐบาลทางด้านรายจ่ายหรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณการใช้จ่ายของรัฐบาล การใช้จ่ายของรัฐบาล G G ในรายได้ประชาชาติ ไม่รวมเงินโอนและเงินช่วยเหลือ การใช้จ่ายของรัฐบาลในที่นี้จะรวมถึงเงินโอนและเงินช่วยเหลือ

More Related