1 / 33

เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้

เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้. เสนอ. อาจารย์ ประสิทธิ์ ไชยศรี. จัดทำโดย. นางสาวยุวดี ใจเย็น รหัส 531103163219 นางสาว อรัญญา เอี่ยมครอง รหัส 531103163220 นางสาวอาทิยา ติย บุตร รหัส 531103163223 นางสาว ศิริ มา จำปารอด รหัส 531103163224 คณะ ครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์

Download Presentation

เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้

  2. เสนอ อาจารย์ ประสิทธิ์ ไชยศรี

  3. จัดทำโดย นางสาวยุวดี ใจเย็น รหัส 531103163219 นางสาวอรัญญา เอี่ยมครอง รหัส 531103163220 นางสาวอาทิยา ติยบุตร รหัส 531103163223 นางสาวศิริมา จำปารอด รหัส 531103163224 คณะ ครุศาสตร์ สาขาวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ห้อง 2

  4. ความหมาย การเรียนรู้ ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์

  5. เทคนิคการจัดการเรียนรู้เทคนิคการจัดการเรียนรู้

  6. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  7. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  8. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  9. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  10. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  11. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  12. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)

  13. ความเป็นมาของการเรียนรวมความเป็นมาของการเรียนรวม

  14. แนวทางการจัดการเรียนร่วมนั้น แนวทางการจัดการเรียนร่วมนั้น มีประเด็นสาระสำคัญอยู่ 2 ประเด็น ประเด็นที่ 1โรงเรียนการศึกษาพิเศษต้องเตรียมเด็กที่มีความต้องการพิเศษให้พร้อมที่จะเข้าเรียนร่วมได้ ประเด็นที่ 2โรงเรียนและชั้นเรียนปกติทั่วไปไม่จำเป็นต้องปรับเปลี่ยน หลักสูตร เทคนิคการสอนการประเมินโรงเรียนเพียงแต่จัดบริการสนับสนุนช่วยเหลือเพิ่มเติม

  15. ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวมความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม “รวมกัน” ที่ทุกคนต่างเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคม ทุกคนยอมรับซึ่งกันและกัน ทุกคนยอมรับว่ามี ผู้พิการ อยู่ในสังคมและเขาเหล่านั้นต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่จะต้องใช้ชีวิตร่วมกันกับคนปกติ โดยไม่มีการแบ่งแยก

  16. การเรียนรวมแบ่งออกเป็น การเรียนรวมแบ่งออกเป็น 1. การเรียนรวมเต็มเวลา ( Full Inclusion ) 2. การเรียนรวมบางเวลา ( Partial Inclusion )

  17. แนวคิดการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม

  18. หลักการของการเรียนรวมหลักการของการเรียนรวม

  19. รูปแบบการเรียนรวม ด๊าด(Daeck , 2007 ) ได้เสนอรูปแบบการเรียนเต็มเวลาไว้ดังนี้ • รูปแบบครูที่ปรึกษา ( Consultant Model ) • รูปแบบการร่วมทีม ( Teaming Model )

  20. รูปแบบการเรียนรวม(ต่อ)รูปแบบการเรียนรวม(ต่อ) 3. รูปแบบการร่วมมือ , การร่วมสอน ( Collaborative , Co. Teaching Model ) 3.1 คนหนึ่งสอนคนหนึ่งช่วย ( One Teacher-One Supporter ) 3.2 การสอนพร้อม ๆ กัน ( Parallel Teaching ) 3.3 ศูนย์การสอน ( Station Teaching ) 3.4 การสอนทางเลือก ( Alternative Teaching Design ) 3.5 การสอนเป็นทีม ( Team Teaching )

  21. รูปแบบการเรียนรวม(ต่อ)รูปแบบการเรียนรวม(ต่อ) คาร์ทเนอร์และลิปสกี้ ได้เสนอรูปแบบการเรียนรวมไว้หลายรูปแบบ บางรูปแบบคล้ายกับที่คาร์ทเสนอไว้ แต่ที่ต่างออกไปมี 2 รูปแบบคือ ฃ1. รูปแบบห้องเสริมวิชาการ ( Resource Room Model ) 2. รูปแบบผู้ช่วยครู ( Teacher-Aid Model )

  22. วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วมวิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม วิธีสอนเด็กปัญญาเลิศ

  23. วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม(ต่อ)วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม(ต่อ)

  24. วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม(ต่อ)วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม(ต่อ)

  25. วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม(ต่อ)วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม(ต่อ)

  26. เทคนิคในการสอนทักษะทางสังคมเทคนิคในการสอนทักษะทางสังคม

  27. เทคนิคในการสอนทักษะทางสังคม (ต่อ)

  28. วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม (ต่อ) วิธีการสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 2 ประเภท คือ 1. เด็กที่มีปัญหาในชั้นเรียน (Learning Disabilities ใช้ชื่อย่อว่า LD) 2. เด็กสมาธิสั้น (Attention Deficit ใช้ชื่อย่อว่า ADD หรือ Deficit Hyperactive Disorder ใช้ชื่อย่อว่า ADHD)

  29. วิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วมวิธีสอนเด็กที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนร่วม

  30. จบงานนำเสนอ

More Related