1 / 72

ยินดีต้อนรับ คณะนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามชุก

ยินดีต้อนรับ คณะนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามชุก. 20 กุมภาพันธ์ 2555. เป็นองค์กรหลักในการสร้างเสริมสุขภาพที่เข้มแข็ง มุ่งเน้นการพัฒนา ด้านบริหาร บริการ วิชาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม. วิสัยทัศน์.

Download Presentation

ยินดีต้อนรับ คณะนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามชุก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับ คณะนิเทศงาน สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสามชุก 20 กุมภาพันธ์ 2555

  2. เป็นองค์กรหลักในการสร้างเสริมสุขภาพที่เข้มแข็ง มุ่งเน้นการพัฒนา ด้านบริหารบริการ วิชาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม วิสัยทัศน์ 1. พัฒนาระบบและกลไกบริหาร จัดการด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง 2. ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม ในการร่วมสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและการป้องกันควบคุมโรค ที่มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาคุณภาพ สถานบริการด้านสุขภาพ ในการให้บริการ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ 4. จัดระบบเฝ้าระวังโรค และภัยทางสุขภาพ 5. จัดระบบการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่มีคุณภาพมาตรฐาน พันธกิจ

  3. วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการสร้างเสริมสุขภาพที่เข้มแข็ง มุ่งเน้นการพัฒนา ด้านบริหารบริการ วิชาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม

  4. พันธกิจ 1. พัฒนาระบบและกลไกบริหาร จัดการด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง 2.ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม ในการร่วมสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและการป้องกันควบคุมโรค ที่มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาคุณภาพ สถานบริการด้านสุขภาพ ในการให้บริการ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ 4. จัดระบบเฝ้าระวังโรค และภัยทางสุขภาพ 5. จัดระบบการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่มีคุณภาพมาตรฐาน

  5. บุคลากรใน รพ. สต. วังลึก นายไพรัช แก้ววงษ์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ จ่าเอกทวิช มะกรูดอินทร์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ นางวันดี สุขเกษม เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน

  6. บุคลากรใน รพ. สต. วังลึก นางสาว น้ำทิพย์ แร่เพ็ชรตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข นางสาวน้ำเพชร ช้างโตตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข นางเฉลียว เจริญสิทธ์ตำแหน่งพนักงานช่วยการพยาบาล 372 ช.ม

  7. เป็นองค์กรหลักในการสร้างเสริมสุขภาพที่เข้มแข็ง มุ่งเน้นการพัฒนา ด้านบริหารบริการ วิชาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม วิสัยทัศน์ ๑. พัฒนาระบบและกลไกบริหาร จัดการด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ๒. ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม ในการร่วมสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและการป้องกันควบคุมโรค ที่มีประสิทธิภาพ ๓. พัฒนาคุณภาพ สถานบริการด้านสุขภาพ ในการให้บริการ ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ๔. จัดระบบเฝ้าระวังโรค และภัยทางสุขภาพ ๕. จัดระบบการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกที่มีคุณภาพมาตรฐาน พันธกิจ

  8. ประวัติ รพ.สต. วังลึก ประวัติความเป็นมา ตำบลวังลึก มีสถานบริการสาธารณสุข ๓ แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านท่าประชาสรรค์ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านดอนสันชัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ตำบลวังลึก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2513 โดยได้รับบริจาคที่ดินจากนายชั่ง ชาญวงษ์ จำนวน 1 ไร่ 2 งาน และได้รับงบประมาณในการก่อสร้างอาคารพร้อมบ้านพัก จำนวน 2 หลังรวมเป็นเงิน 600,000 บาท ก่อสร้างแล้วเสร็จปีงบประมาณ 2514 ในปีงบประมาณ 2536 ได้รับงบประมาณในการก่อสร้างอาคารสถานีอนามัยทดแทนพร้อมบ้านพัก จำนวน 3,148,000บาท และได้รับบริจาคที่ดินเพิ่มจากนายชั่ง ชาญวงษ์ จำนวน 3 ไร่ 2 งาน แล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2537

  9. อาณาเขตติดต่อ

  10. ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ สถานีอนามัยตำบลวังลึกตั้งอยู่ที่บ้านทุ่งแฝกหมู่ที่ 11 ตำบลวังลึกอำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรีห่างจากอำเภอสามชุก ประมาณ 14 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 42 กิโลเมตร โดยพื้นที่รับผิดชอบมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ -ติดต่อกับ อำเภอเดิมบางนางบวชทิศใต้ - ติดต่อกับอำเภอศรีประจันต์ทิศตะวันออก -ติดต่อกับ อำเภอศรีประจันต์และอำเภอแสวงหาจังหวัดอ่างทองทิศตะวันตก-ติดต่อกับหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 7 ตำบลวังลึกอำเภอสามชุก

  11. ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีคลองชลประทานผ่าน จำนวน 2 สาย สามารถเพาะปลูกได้ตลอดทั้งปี -อาชีพ – ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา รับจ้างเลี้ยงสัตว์ -ศาสนา - ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดพุทธ 1 แห่ง คือ วัดทุ่งแฝก หมู่ที่ 11ตำบลวังลึก- รายได้ -รายได้โดยเฉลี่ยประมาณ 28,500 บาท/คน/ปี

  12. มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีองค์การบริหารส่วนตำบลวังลึกเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหมู่บ้านที่อยู่ในเขตการปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลวังลึก คือ หมู่ที่ 2,3,11 และ 12 ลักษณะการปกครอง ลักษณะภูมิอากาศ อากาศร้อนชื้น และเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม คลองชลประทาน 2 สาย ประปาหมู่บ้าน 4แห่ง แหล่งน้ำ

  13. มีถนนลาดยาง และถนนคอนกรีตเชื่อมต่อทุกหมู่บ้าน สามารถติดต่อกับอำเภอและจังหวัดได้สะดวกตลอดทั้งปี การคมนาคม หอกระจายข่าว 3แห่ง เสียงตามสาย 1แห่ง การสื่อสาร การศึกษาและวัฒนธรรม - โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง - โรงเรียนประถมศึกษา1แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง - วัดพุทธ 1แห่ง • - ศูนย์การเรียนรู้และ1 แห่ง ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร

  14. การให้บริการหลักของหน่วยงานการให้บริการหลักของหน่วยงาน วัน/เวลา08.30-12.00 น13.00-16.30 น. 16.30-18.30 น.จันทร์ รักษาพยาบาล - เยี่ยมบ้านอังคาร รักษาพยาบาล - วางแผนครอบครัวพุธรักษาพยาบาล- อนามัยเด็กและ ครอบครัว พฤหัสบดี รักษาพยาบาล - ให้คำปรึกษาศุกร์รักษาพยาบาล - อนามัยโรงเรียนเสาร์รักษาพยาบาล รักษาพยาบาลนอก ตารางปฏิบัติงาน หมายเหตุ * คลินิกโรคเรื้อรังเบาหวานทุกวันพฤหัสบดีที่ 3 ของเดือน

  15. งานบริการแพทย์แผนไทย ค่าบริการนวดแพทย์แผนไทย นวดเพื่อการรักษาโรค 100 บาท/ 1 ชั่วโมงนวดฝ่าเท้า 100 บาท/ 1 ชั่วโมงประคบสมุนไพร 100 บาท/ 1 ชั่วโมงรักษาด้วยสมุนไพรเปิดบริการ 08.30-16.30 น. จันทร์ – ศุกร์

  16. งานคลินิกทันตกรรม ตารางการปฏิบัติงานทันตกรรม

  17. จำนวนหมู่บ้านและประชากรแยกรายหมู่บ้านจำนวนหมู่บ้านและประชากรแยกรายหมู่บ้าน

  18. ข้อมูลสถานะสุขภาพ จำนวนและอัตราการเกิดมีชีพ อัตราตายและอัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ปี 2552 –2554 • หมายเหตุ • อัตราเกิดมีชีพ = อัตราต่อประชากร 1,000 คนอัตราตาย = อัตราต่อประชากร 1,000 คน • อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ = อัตราต่อประชากร 100 คน

  19. ตารางแสดงจำนวนและร้อยละของประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุและเพศตารางแสดงจำนวนและร้อยละของประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ • (ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2553)

  20. กราฟแสดงจำนวนและร้อยละของประชากรจำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ (ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ พ.ศ. 2553)

  21. ตาราง แสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึกปีงบประมาณ 2554 (มิ.ย.54)

  22. ตาราง แสดงข้อมูลสถานการณ์การเงินของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ปี งบประมาณ 2552 – 2554 ข้อมูลสถานะ การเงิน

  23. โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ย้อนหลัง 3 ปี ตาราง แสดงอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปี พ.ศ.2552-2554

  24. ผลการดำเนินงานตามแนวทางการตรวจราชการนิเทศงานกรณีปกติ ระดับอำเภอ ปีงบประมาณ 2554รอบที่ 1วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555

  25. คณะที่ 1 หัวข้อที่ 1โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนตัวชี้วัดที่0101จังหวัดที่มีผลการดำเนินโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ ในระดับดีมากถึงดีเยี่ยม

  26. การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานงบประมาณ 2553และ 2554

  27. การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2554

  28. ปัญหาและข้อเสนอแนะ 1. ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ประกอบอาชีพรับจ้าง เกษตรกรรม จำเป็นต้องจากบ้านตั้งแต่เช้าจึงไม่สามารถมารับการตรวจตาม การนัดหมายได้ในบางครั้ง 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพนั้นยังเป็นเรื่องยาก เนื่องจากประชาชนมีความเชื่อว่าพ่อแม่พี่น้องป่วยอย่างไร ตัวเองก็ต้องป่วยอยู่แล้ว ทำให้ขาดการตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. ประชาชนยังมีความเชื่อที่ผิดๆ ในเรื่องของการดื่มเครื่องดื่มประเภทบำรุงกำลังในการประกอบอาชีพ 4. ประชาชนมีความคาดหวังว่าเมื่อมารับการตรวจแล้วจะได้รับยากลับบ้านถ้าพบว่าตัวเองมีระดับน้ำตาลสูงเพราะไม่อยากไปรับยาที่โรงพยาบาลสามชุกต้องรอคิวนาน

  29. คณะที่ 1 กระทรวงสาธารณสุขได้มีการประกาศกฎกระทรวงใหม่จำนวน 4 ฉบับ เพื่อควบคุมเรื่องเกลือบริโภค เรื่องน้ำปลา เรื่องน้ำปลาปรุงอาหาร และเรื่องผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง จะต้องมีไอโอดีนเป็นส่วนผสมในปริมาณที่กระทรวงกำหนด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก จึงได้ดำเนินการออกสำรวจเกลือบริโภคของตำบลวังลึก พบว่า ประชาชนบริโภคเกลือที่มีสารไอโอดีนเป็นไปตามมาตรฐาน และร้านค้าที่จำหน่ายเกลือไอโอดีนได้มาตรฐานทุกร้าน หัวข้อที่ 1.3เรื่องโครงการควบคุมการขาดสารไอโอดีน ตัวชี้วัดที่ 0102จังหวัดมีแผนงานโครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน สถานการณ์

  30. การบริหาร/จัดการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ได้ดำเนินการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง โดยการเผลแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการบริโภคเกลือไอโอดีน การจำหน่ายเกลือให้กับประชาชน การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ชุมชน อบรมให้ความรู้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ประสานงานกับผู้นำชุมชนในการให้ข้อมูลกฎข้อบังคับของกระทรวงสาธารณสุขทั้ง ๔ ข้อ และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายมีการบริโภคเกลือที่มีสารไอโอดีน ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนที่มารับบริการให้ทราบถึงวิธีการเลือกซื้อเกลือที่มีส่วนผสมของสารไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย อบรมให้ความรู้แก่ อสม.ประจำหมู่บ้าน การนำเกลือที่มีส่วนผสมของสารไอโอดีนมาจำหน่ายในสถานบริการ นอกจากนี้ในส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึกจะได้รับการแจกเกลือที่มีสารไอโอดีน

  31. ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2554 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ได้ดำเนินการสุ่มคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ตรวจตัวอย่างเกลือเสริมไอโอดีน โดยการหยดสารไอโอดีนจำนวน12ตัวอย่าง พบว่าทุกตัวอย่างมีค่าไอโอดีน 30 ppmถึง 50 ppm และจากการสำรวจเกลือเสริมไอโอดีนของอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน พบว่า มีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนที่ได้มาตรฐาน ครบทุกหลังคาเรือน ผลการดำเนินงาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ได้ส่งเสริมการบริโภคเกลือไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มารับบริการ เด็กแรกเกิดทุกรายไม่พบภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ ไม่พบหญิงตั้งครรภ์ป่วยด้วยโรคไทรอยด์ จากการขาดสารไอโอดีน และจากการประเมินพัฒนาการเด็ก อายุ 0-6ปี ไม่พบเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า

  32. คณะที่ 1 หัวข้อที่ 3 เรื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ตัวชี้วัดที่ 1 ตามที่รัฐบาลมีนโยบายในการปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยพัฒนาระบบบริการสุขภาพภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งภายใต้การลงทุนเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2 (ปี2553-2554) ด้วยการยกระดับสถานีอนามัยฯ ให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และส่งเสริมบทบาทของท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ให้มีศักยภาพและคุณภาพที่ดีขึ้น พร้อมทั้งเพิ่มขีดความสามารถของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สถานการณ์

  33. การบริหาร/จัดการ ผลการดำเนินงาน • ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนา • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก • การปรับปรุงระบบการให้บริการเชิงรุก ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • - สำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อเตรียมความพร้อม • - ตรวจสอบข้อมูลประชากร • - ข้อมูลบุคลากรของ รพ.สต. • - ดำเนินการปรับภาพลักษณ์ • - ประสานงานกับท้องถิ่น และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการคัดเลือก/ตั้งแต่งตั้งคณะกรรมการการพัฒนา รพ.สต. • - ประสานงานกับเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล • ในปีงบประมาณ 2554 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึกมีการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการตามเกณฑ์ PCA ดังนี้มีป้ายชื่อพร้อมโลโก้มีบุคลากรครบตามเกณฑ์ เครือข่ายมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับติดต่อโรงพยาบาลแม่ข่ายมีคณะกรรมการพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุคลากรมีการเรียนรู้ (16 หลักสูตร) • มีแผนสุขภาพตำบล • โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก • โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง

  34. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  35. สถานการณ์ รพ.สต. ดำเนินโครงสร้างทางกายภาพตามองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน 1. การปรับภาพลักษณ์ของสถานบริการ 2. มีบุคลากรเพียงพอตามเกณฑ์ 3. มีระบบข้อมูลเชื่อมต่อกับโรงพยาบาลแม่ข่าย (รพ.สามชุก) 4. มีการตั้งคณะกรรมการ รพ.สต.แบบมีส่วนร่วม

  36. ปัญหาและข้อเสนอแนะ ผลการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพหน่วย บริการตามเกณฑ์มาตรฐาน ปัญหา ประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดการแก้ไขปัญหาของชุมชน - ผ่านการประเมินเกณฑ์ 26 กิจกรรม 42 ตัวชี้วัด ปี 2550ผ่านการประเมินซ้ำในปี 2552 ข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรดำเนินการชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจและสามารถกำหนดมาตรการทางสังคมและนำมาใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม - ปี 2553 ได้ยกระดับจากสถานีอนามัย เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

  37. คณะที่ ๑ หัวข้อที่ ๕ งานนโยบายเน้นหลักที่สำคัญของรัฐมนตรี ตัวชี้วัดที่ ๑ โครงการรักษาฟรี ๔๘ ล้านคน ใช้บัตร ประชาชนใบเดียว

  38. สถานการณ์ ตามที่นโยบายของรัฐบาล ที่จะให้ประชาชนคนไทยใช้บัตรประชาชนเพียงใบเดียว ในการใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๔ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้รับบริการและผู้ให้บริการ โดยเริ่มให้บริการตั้งแต่ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ เป็นต้นมา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังลึกจึงได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ โครงการรักษาฟรี ๔๘ ล้านคนใช้บัตรประชาชนใบเดียวผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบโดยทั่วถึงกัน

  39. การบริหาร/การจัดการ ในรอบปี ๒๕๕๔โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึกได้มีการ ดำเนินงานโครงการรักษาฟรี ๔๘ ล้านคน โดยใช้บัตรประชาชนใบเดียว ดังนี้ • ประชาสัมพันธ์ผ่านที่ประชุมประจำเดือนของอาสาสมัครประจำหมู่บ้านทุกเดือน • ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย/หอกระจายข่าวในหมู่บ้าน จำนวน ๕ หมู่บ้าน • การประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายไฟอิเลคทรอนิคของรพ.สต. • ติดป้ายประชาสัมพันธ์ “การใช้บัตรประจำตัวประชาชนแทนบัตรทอง” • ใช้เครื่องอ่านบัตรประจำตัวประชาชน ( Smart Card Reader ) ในการเข้าถึงข้อมูลสิทธิ์ของประชาชน ตรวจสอบสิทธิ์หน่วยบริการ • ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ (ออนไลน์) กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในการตรวจสอบสิทธิ์การรักษาพยาบาล

  40. ปัญหา/ข้อเสนอแนะ การตรวจสอบสิทธิระบบออนไลน์ ไม่สามารถตรวจสอบได้อย่างรวดเร็วทุกราย เนื่องจากในบางครั้ง การเชื่อมต่อระบบออนไลน์ เกิดปัญหาจากสัญญาณขัดข้อง เกิดปัญหาในการให้บริการในกรณีผู้รับบริการกลุ่มเด็ก และผู้สูงอายุบางส่วนที่ไม่มีหลักฐานมาแสดงในการขอรับบริการ ผู้รับบริการไม่นำหลักฐานมาแสดง เมื่อมารับบริการ ซึ่งจะต้องอนุโลมให้ใช้บัตรทองเดิมและชี้แจงเป็นรายบุคคล ผู้รับบริการเข้าใจว่าการยื่นบัตรประจำตัวประชาชนก็สามารถใช้สำหรับการรักษาพยาบาลได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (กรณีไม่ใช่หน่วยบริการประจำและไม่เข้าข่ายอุบัติเหตุฉุกเฉิน) ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจถึงสิทธิที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่องใจ

  41. คณะที่ 1 หัวข้อที่ 5 งานนโยบายเน้นหนักที่สำคัญของนายกรัฐมนตรี ตัวชี้วัดที่ 2โครงการโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่เพื่อคนไทยสุขภาพดีมีรอยยิ้ม (3D) ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาลและคุณภาพการบริการในทุกระดับ จึงได้ดำเนินการ โรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่ เพื่อคนไทยสุขภาพดี มีรอยยิ้ม เน้นการพัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาลคุณภาพและการมีส่วนร่วม โดยมีหลักการดำเนินงานปรับปรุง/พัฒนางานด้านบรรยากาศ การบริการและการบริหารจัดการ สถานการณ์

  42. การบริหาร/จัดการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึกได้มีการดำเนินโครงการโรงพยาบาลสาธารณสุขยุคใหม่เพื่อคนไทยสุขภาพดี มีรอยยิ้ม ดังนี้ • ด้านบรรยากาศดี (Structure) • มีการปรับโฉมด้านกายภาพพื้นที่ผู้รับบริการผู้ป่วยนอกให้ทันสมัยและผ่อนคลาย • ปรับภูมิทัศน์ทั้งภายนอกและภายในอาคารให้สวยงาม • จัดพื้นที่ที่ให้บริการมีความสะอาดและเป็นระเบียบ • จัดให้มีมุมความรู้ด้านสุขภาพในรูปแบบต่างๆ เช่น นิทรรศการ โปสเตอร์ แผ่นพับ

  43. บรรยากาศดี

  44. การบริหาร/จัดการ • ด้านบริการที่ดี (Service) • บริการด้านการแพทย์ • มีการลดเวลาการรอตรวจ • การจัดคิวการรอตรวจ ในหน่วยบริการทุกครั้ง • มีจุดบริการให้คำปรึกษาแนะนำการปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน • การส่งต่อ-ส่งกลับและนัดหมายอย่างเป็นรูปธรรมและการติดต่อประสานงานกับโรงพยาบาล • บริการทั่วไป • มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการของ รพ.โดยผ่านกลุ่ม/ชมรม อาสาสมัคร องค์กรท้องถิ่นต่างๆ

  45. ด้านบริการที่ดี

  46. สรุปผล • ผ่านเกณต์The must ๑๑ ข้อ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ • ผ่านเกณฑ์ The best ๑๖ ข้อ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ สรุปผล รพ.สต.วังลึก

  47. คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ หัวข้อที่ 2.1 การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ระยะ 5 ปี แผนพัฒนาระบบบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังลึก ได้แก่ แผนการบริหารงบลงทุน ปี 2555-2558 โดยใช้กลยุทธ์การดำเนินงานตามแผนการบริหารงบลงทุน พ.ศ. 2552-2555 และแผนงบลงทุน ปี 2552-2555 1. แผนสนับสนุนทรัพยากร 2. แผนพัฒนา จัดทำขึ้นโดยยึดรูปแบบตามเกณฑ์มาตรฐาน PCA

  48. ผลการดำเนินงานตามแผนบริหารงบลงทุนผลการดำเนินงานตามแผนบริหารงบลงทุน แผนสิ่งก่อสร้าง จำนวน ๑ รายการ เป็นเงิน ๘๗,๕๐๐ บาท ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว

  49. แผนพัฒนาคุณภาพบริการ ๑. ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน PCA ขั้นที่ ๑ และกำลังพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ขั้นที่ ๒ ๒. ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ จากการสำรวจครั้งที่ ๑/๒๕๕๔ร้อยละ ๙๐.๐๐ ๓. อัตราส่วนการใช้บริการเทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่าย เท่ากับ ๐.๘๘

More Related