1 / 33

ความไม่รับผิดชอบ ของบริษัทบุหรี่

ความไม่รับผิดชอบ ของบริษัทบุหรี่. ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 17 พฤษภาคม 2556. ประเด็นการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก พ.ศ.2556. “ไม่ใช้ ไม่รับ ไม่สนับสนุนโฆษณา ยาสูบร้าย ทำลายชีวิต”.

channer
Download Presentation

ความไม่รับผิดชอบ ของบริษัทบุหรี่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความไม่รับผิดชอบของบริษัทบุหรี่ความไม่รับผิดชอบของบริษัทบุหรี่ ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ 17 พฤษภาคม 2556

  2. ประเด็นการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก พ.ศ.2556 “ไม่ใช้ ไม่รับ ไม่สนับสนุนโฆษณา ยาสูบร้าย ทำลายชีวิต”

  3. “ยาสูบเป็นสินค้าเสพติด ที่คร่าชีวิตครึ่งหนึ่งของผู้สูบบุหรี่ที่ไม่เลิกสูบ”

  4. ทั่วโลกเสียชีวิตจากยาสูบ ปีละ 6 ล้านคน วันละ 16,438 คน = เครื่องบิน 747 ที่บรรทุกผู้โดยสาร 350 คนตกปีละ 17,142 ลำ ตกวันละ 47 ลำทุกวัน หรือ 2 ลำ ทุกชั่วโมง

  5. คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ปีละ 50,700 คน (= จำนวนคนตายจากเครื่องบิน 747 ตก 144 ลำ) วันละ 139 คน ชั่วโมงละ 5.8 คน หรือ 1 คนในทุก ๆ 10 นาที

  6. 4 ธันวาคม 2547 พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “...เห็นมีการรณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่ แล้วก็ห้ามขายบุหรี่แก่เด็กอายุต่ำกว่า 18 ที่จริงเด็กอายุ 50 ก็ควรจะห้าม”

  7. ศ.นพ.ประเวศ วะสี : ผู้เขียนได้รับทราบมาด้วยความยินดีว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีรับสั่งกับ ศ.นพ. อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ว่า “เรื่องการรณ รงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่นี่ฉันเห็นด้วย” นิตยสารหมอชาวบ้าน ตุลาคม 2531

  8. วิธีควบคุมยาสูบ ที่ดี-คุ้มค่าที่สุด • การขึ้นภาษี • การห้ามโฆษณา-ส่งเสริมการขาย • การเตือนพิษภัยด้วยภาพบนซองบุหรี่/สื่อ • สถานที่สาธารณะและที่ทำงานต้องปลอดบุหรี่ องค์การอนามัยโลก

  9. พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 • ห้ามโฆษณา-ส่งเสริมการขาย อุปถัมภ์สินค้ายาสูบ ในทุกสื่อ ทั้งทางตรงและทางอ้อม • ห้ามลด-แลก-แจกแถม • ห้ามขายโดยเครื่องขายอัตโนมัติ

  10. พ.ศ.2543 กฎกระทรวง พ.ร.บ.วิทยุและโทรทัศน์ (2498) • ห้ามแสดงการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ

  11. พฤษภาคม 2548 ประกาศกรมประชาสัมพันธ์ “ห้ามแสดงหรือโฆษณา การได้รับการสนับสนุน.....จากบริษัทผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้แทนจำหน่ายซึ่งยาสูบ ทางวิทยุและโทรทัศน์” (ห้ามประชาสัมพันธ์การทำ CSR)

  12. อนุสัญญาควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลก พ.ศ.2548 ข้อ 13 - ห้ามโฆษณา ส่งเสริมการขาย การอุปถัมภ์ทุกรูปแบบ - ห้ามการทำกิจกรรมเพื่อสังคม “CSR” - ควบคุมการมีฉากสูบบุหรี่ในภาพยนตร์ - ห้ามโฆษณาข้ามพรหมแดน ข้อ 5.3 - ห้าม จนท. / หน่วยงานราชการร่วมทำกิจกรรมเพื่อสังคม ของบริษัทบุหรี่

  13. มติ คณะรัฐมนตรี 17 เมษายน 2555 เห็นชอบตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ “ห้ามธุรกิจยาสูบทำกิจกรรมภายใต้นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR)”

  14. “กิจกรรมเพื่อสังคม” ของบริษัทบุหรี่ จึง “ผิดกฎหมาย” หรือ “ผิดเจตนารมณ์ของกฎหมาย”

  15. วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการทำกิจการเพื่อสังคมของบริษัทบุหรี่ (CSR) 1. เบี่ยงเบนความสนใจของสังคมและผู้กำหนดนโยบายจากธุรกิจหลักของบริษัท 2. เพื่อลดทอนกระแสการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ 3. ปิดปากบุคคล – องค์กรที่รับการสนับสนุนการบริจาค 4. สร้างการยอมรับการสูบบุหรี่

  16. องค์การอนามัยโลก: ห้ามบริษัทบุหรี่ทำกิจกรรมเพื่อสังคม • เป้าหมายของบริษัทบุหรี่ขัดแย้งกับเป้าหมายสาธารณสุข อย่างที่ไม่สามารถออมชอมได้ • บริษัทบุหรี่แสดงความ “ไม่รับผิดชอบต่อสังคม” ตลอดเวลา โดยการ – ขัดขวาง/แทรกแซงการควบคุมยาสูบ - ฝ่าฝืนกฎระเบียบต่าง ๆ ตลอดเวลา • ความรับผิดชอบนั้นต่ำสุดของบริษัทบุหรี่คือการไม่ฝ่าฝืนกฎหมาย • ความรับผิดชอบที่แท้จริงคือ ต้องเลิกกิจการยาสูบ

  17. ฟิลลิป มอริส อินเตอร์เนชั่นแนล4 เป้าหมายในการเติบโตของธุรกิจ • สร้างผลตอบแทนสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น • เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้สูบบุหรี่ ด้วยผลิตภัณฑ์ที่คุณภาพสูงสุดในแต่ละกลุ่มตลาด • พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ • เป็นองค์กรที่รับผิดชอบต่อสังคม และทำธุรกิจด้วยความน่าเชื่อถือสูงสุด

  18. บริษัทบุหรี่น่าเชื่อถือหรือไม่บริษัทบุหรี่น่าเชื่อถือหรือไม่ ผล ธุรกิจยาสูบ มีความน่าเชื่อถืออยู่ที่อันดับสุดท้ายของ 25 ประเภทธุรกิจที่ทำการสำรวจ การสำรวจความน่าเชื่อถือของธุรกิจระดับโลก โดยการสำรวจผู้บริโภค 80,000 คน จาก 32 ประเทศ โดย ReputationInstitute ที่เชี่ยวชาญการบริหารจัดการความน่าเชื่อขององค์กร พ.ศ. 2553

  19. โรงงานยาสูบ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรระดับนำในธุรกิจยาสูบที่มีความ รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และมุ่งสู่ธุรกิจอื่น พันธกิจ เป็นผู้นำในการผลิตและจำหน่ายบุหรี่ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ....คำนึงถึงสุขภาพของ ผู้บริโภคและมุ่งสู่ธุรกิจอื่น

  20. “การสร้างชื่อเสียงให้บริษัทเป็นที่รู้จักของตลาด เป็นวิธีหนึ่งที่สร้างความแข็งแกร่งให้กับตัวสินค้า” นายแพทริค รีการ์ท ผู้จัดการฝ่ายกิจกรรมองค์กร บริษัทบุหรี่ ฟิลลิป มอริส พ.ศ.2537

  21. แจกจาน 200-300 จานมีโลโก้ ให้ร้านอาหาร ถ้ามีความรับผิดชอบ ทำไมจึงทำผิดกฎหมาย

  22. พริ้ตตี้กับบูธขายบุหรี่ในงานต่างๆพริ้ตตี้กับบูธขายบุหรี่ในงานต่างๆ งานคอนเสิร์ต งานแข่งรถแต่ง

  23. โฆษณาแฝงในกิจกรรมต่างๆโฆษณาแฝงในกิจกรรมต่างๆ

  24. อ้างเป็นการเสริมสร้างมารยาทการสูบบุหรี่อ้างเป็นการเสริมสร้างมารยาทการสูบบุหรี่

  25. การโฆษณาแฝง ภาพยนตร์เรื่อง “รักแห่งสยาม” (2550)

  26. โฆษณาแฝงในคราบทำประโยชน์เพื่อสังคมโฆษณาแฝงในคราบทำประโยชน์เพื่อสังคม

  27. ขายและโฆษณาบุหรี่ในโลกออนไลน์ขายและโฆษณาบุหรี่ในโลกออนไลน์

  28. บริษัทบุหรี่ จึงมีพฤติกรรม “ไม่มีความรับผิดชอบต่อสังคม” การที่พยายามอ้างว่าทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคม แท้จริงแล้ว เพื่อเพิ่มผลกำไรเท่านั้น

  29. มติ คณะรัฐมนตรี 17 เมษายน 2555 เห็นชอบตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ “ห้ามธุรกิจยาสูบทำกิจกรรมภายใต้นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR)”

  30. เรื่อง ขอทราบความคืบหน้าในการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี กราบเรียน ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตามที่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2555 มีมติเห็นชอบมาตรการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านยาสูบ ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2553 และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการตามมติที่เกี่ยวข้องต่อไป โดยในส่วนของกระทรวงการคลัง ข้อ 2.2 ให้กระทรวงการคลังดำเนินการ

  31. 2.2.1 ห้ามธุรกจิยาสูบทำกิจกรรมภายใต้นโยบายรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (Corporate Social Responsibility, CSR โดยที่ประเด็นการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ประจำปี พ.ศ. 2556 ที่กำหนดโดยองค์การอนามัยโลก คือ การห้ามโฆษณา ส่งเสริมการขาย และการให้ทุนอุปถัมภ์ ซึ่งรวมถึงการห้ามบริษัทยาสูบทำกิจกรรมภายใต้นโยบายรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) ตามแนวปฏิบัติข้อ 5.3 และ 13 อนุสัญญาควบคุมยาสูบที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตามในฐานะรัฐภาคี

  32. พวกเราสมาชิกและองค์กรตามรายชื่อแนบท้ายหนังสือนี้ จึงใคร่ขอทราบรายละเอียดความคืบหน้าในการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2555 เพื่อติดตามผลการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี จักคุณเป็นพระคุณยิ่ง ขอแสดงความนับถือ

More Related