1 / 41

พญ จันทิมา ใจพันธ์ งามตา รอดสนใจ ศรีสุภา เพ็ชรจินพะเนา วุฒิพงษ์ เพิ่มมณีรัตน์

การศึกษาความเสี่ยงต่อการได้รับสารตะกั่ว ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดของกรุงเทพมหานคร. พญ จันทิมา ใจพันธ์ งามตา รอดสนใจ ศรีสุภา เพ็ชรจินพะเนา วุฒิพงษ์ เพิ่มมณีรัตน์ รศ นพ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ 10 กุมภาพันธ์ 2553. ถังน้ำเย็นมี"สารตะกั่ว".

Download Presentation

พญ จันทิมา ใจพันธ์ งามตา รอดสนใจ ศรีสุภา เพ็ชรจินพะเนา วุฒิพงษ์ เพิ่มมณีรัตน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาความเสี่ยงต่อการได้รับสารตะกั่วของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดของกรุงเทพมหานคร พญ จันทิมา ใจพันธ์ งามตา รอดสนใจ ศรีสุภา เพ็ชรจินพะเนา วุฒิพงษ์ เพิ่มมณีรัตน์ รศ นพ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ 10 กุมภาพันธ์ 2553

  2. ถังน้ำเย็นมี"สารตะกั่ว"ถังน้ำเย็นมี"สารตะกั่ว" • ทำลายสมอง ไขกระดูก ระบบประสาท ตับ ไต หัวใจ และทางเดินอาหาร ฯลฯ อาการ ปวดศีรษะ รู้สึกสับสน ความจำเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อ โลหิตจาง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกิดอาการตกเลือด เกิดอาการเพ้อ ชัก เป็นอัมพาต • ชลบุรี 5 รร. สารตะกั่ว 0.060-0.670 มิลลิกรัม/ลิตร • สงขลา 2 รร. พบสารตะกั่ว 0.100-0.200 มิลลิกรัม/ลิตร • ภูเก็ต 1 รร. พบสารตะกั่ว 0.240 มิลลิกรัม/ลิตร • พิษณุโลก 5 รร. พบสารตะกั่ว 0.115-0.153 มิลลิกรัม/ลิตร • เชียงราย 1 รร. พบสารตะกั่ว 0.080 มิลลิกรัม/ลิตร ที่มา: ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สุราษฎร์ธานี ดำเนินการตรวจวิเคราะห์น้ำดื่มในโรงเรียน ปี 2550

  3. พิษจากสารตะกั่วมีผลโดยตรงต่อระดับสติปัญญา สมองและระบบประสาทอย่างถาวรในเด็กRogan et al, 2001 IQ ลดลง 4.6 ถ้าระดับสารตะกั่วในเลือด < 10 mcg/dL, IQ ลดลง 7.4 ถ้าระดับสารตะกั่วในเลือด > 10 mcg/dl Canfield et al, 2003

  4. เด็กกับความเสี่ยงต่อภาวะพิษสารตะกั่วเด็กกับความเสี่ยงต่อภาวะพิษสารตะกั่ว 1.การดูดซึมสารตะกั่วเข้าสู่ร่างกาย 10 - 15 % ผู้ใหญ่ 50% เด็ก 2.พื้นที่ผิวกาย 3.พฤติกรรมในการหยิบของเข้าปากรวมถึงการมีกิจกรรมบนพื้นที่มี การปนเปื้อนด้วยสารตะกั่ว บทนำ (2) UNEP-UNICEF1997

  5. บทนำ (3) อากาศ 15% น้ำ 10% อาหาร 20% สี ฝุ่น และดิน 55%

  6. บทนำ (4) - 9.6% เด็กอายุ 2-6 ปี ในกรุงเทพมีระดับสารตะกั่ว ในเลือด > 10 mcg/dL - 27.4% เด็กอายุ 6-12 ในกรุงเทพมีระดับสารตะกั่ว ในเลือด > 10 mcg/dL การศึกษาอุบัติการณ์และความเสี่ยงของสารตะกั่ว ในประเทศไทยปี 2535-2542 สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์และคณะ (National Research Council of Thailand)

  7. บทนำ (5) 16.9% ของเล่นในประเทศไทย มีระดับสารตะกั่วในที่สูงกว่าค่ามาตรฐาน อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์, 2550 57% ของสีทาบ้านมีสารตะกั่วเกินค่ามาตรฐาน, สีทาบ้านจึงเป็นแหล่งที่มาที่สำคัญของสารตะกั่วในประเทศจีน G.Z. Lin et al, 2551 ค่าใช้จ่ายในการรักษาภาวะพิษสารตะกั่วสูงกว่าการปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญการรักษาภาวะพิษสารตะกั่วไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในระยะยาว Cochrane review 2549

  8. คำถามงานวิจัย ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดของกรุงเทพมหานครมี ความเสี่ยงที่จะได้พบสารตะกั่ว ในสิ่งแวดล้อมมากกว่าค่ามาตรฐานสากลหรือไม่ ? ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนวัยเรียนฯ 293 ศูนย์และ เด็กกว่า 30,000 คน

  9. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความชุกของสิ่งแวดล้อมที่มีระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร

  10. วิธีวิจัย (1) แบบแผนการวิจัย: Cross-sectional survey ประชากรที่ทำการศึกษา: ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ในสังกัดกรุงเทพมหานคร

  11. วิธีวิจัย (2) 293 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สุ่มสำรวจ 2 ศูนย์ฯ เพื่อทำการศึกษาวิธีการเก็บสิ่งส่งตรวจที่เหมาะสม 17 ศูนย์ฯจะถูกเลือกแบบสุ่มและสมัครใจ และตรวจสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม 13 จุด ถ้าพบมีค่าสารตะกั่วสูง ตรวจซ้ำอีกครั้ง เพื่อยืนยันผล ความชุกของสิ่งแวดล้อมที่มีระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน

  12. แผนที่กรุงเทพมหานคร

  13. แผนที่แสดงการกระจายตัวของแผนที่แสดงการกระจายตัวของ ศูนย์พัฒนาด็กก่อนวัยเรียนฯ ที่เข้าร่วมการศึกษา

  14. วิธีวิจัย (3)

  15. ฝุ่นในอาคาร สีทาบ้าน โต๊ะเรียน ดิน ของเล่น ดินน้ำมัน ดินสอสี

  16. น้ำดื่ม น้ำประปา ภาชนะหุงต้มที่เชื่อมด้วยสารตะกั่ว ภาชนะจัดเก็บอาหาร แก้วน้ำ ช้อน

  17. วิธีวิจัย (4)

  18. วิธีวิจัย (4)

  19. วิธีวิจัย (5) ตรวจหาสารตะกั่วโดย Intertek Testing Services (Thailand) Ltd. บริษัทที่ได้รับการรับรองโดยกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็น ที่ตรวจรับรองตามมาตรฐาน ดำเนินวิธีการตรวจที่เป็นไปตาม Standard consumer safety specification

  20. วิธีวิจัย (6)

  21. รายชื่อศูนย์ที่เข้าร่วมการการศึกษารายชื่อศูนย์ที่เข้าร่วมการการศึกษา • ศูนย์เคหะนคร • ศูนย์ชุมชนสะพาน 1 • ศูนย์ไฮเทคเอพพาเรลจำกัด • ศูนย์ศาลาแดง • ศูนย์ริมคลองสามเสน • ศูนย์ชุมชนมาลุลอิสลาม • ศูนย์พัวซิวติ่ง-ลิ้มเซาะคิ้ม • ศูนย์ร่วมพัฒนาบ้านป่า • ศูนย์บางชันพัฒนา • ศูนย์เกาะจวนซันประสิทธิ์ • ศูนย์ชุมชนบดินทรเดชา • ศูนย์ชุมชนวัดไชยอุทิศ • ศูนย์วัดปากน้ำฝั่งเหนือ • ศูนย์วัดศรีบุญเรือง • ศูนย์ชุมชนวัดไผ่ตัน • ศูนย์ นปอ ประจำพื้นที่สีกัน • ศูนย์ดวงประทีป

  22. ผลการวิจัย

  23. ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐานระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ระดับสารตะกั่วอยู่ในค่ามาตรฐาน 187 สิ่งส่งตรวจ 11 สิ่งส่งตรวจ (5.9%) 176 สิ่งส่งตรวจ (94.1%) • 17 น้ำดื่มน้ำประปา • 16 ของเล่น, 8 ดินน้ำมัน • 30 ภาชนะจัดเก็บอาหาร,ภาชนะหุงต้ม • 18 แก้วน้ำ, 17 ช้อน • 11 ฝุ่นในอาคาร • 18 ดินสอสี 9/26 (34.6%) สีทาบ้าน 1 โต๊ะเรียน 1 ฝุ่นดิน

  24. ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ระดับสารตะกั่วอยู่ในค่ามาตรฐาน 17 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน 10 ศูนย์พัฒนาเด็ก (58.8%) 7 ศูนย์พัฒนาเด็ก (41.2%) สีทาบ้าน 9/17(52.9%) โต๊ะ 1/17 ฝุ่นดิน 1/17 • น้ำดื่มน้ำประปา, ของเล่น • ดินน้ำมัน , ฝุ่นในอาคาร • ภาชนะจัดเก็บอาหาร,ภาชนะหุงต้ม • แก้วน้ำ, ช้อน, ดินสอสี

  25. แผนที่แสดงการกระจายของแผนที่แสดงการกระจายของ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนฯ ที่ระดับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน

  26. ผลการศึกษายืนยันโดยการเก็บตัวอย่างสีภายในศูนย์ละ ๘ จุด

  27. สีทาบ้าน

  28. เปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ลักษณะ สารตะกั่วสูง สารตะกั่วอยู่ในเกณฑ์ รวม p-value -พื้นที่ความเสี่ยงสูง* 4 2 6 ns** -พื้นที่ความเสี่ยงต่ำ 65 11 ns -จำนวนเด็ก 168 107 143 ns -สร้างก่อนปี1997*** 7 4 11 ns -อายุของศูนย์ 16.5 20.4 18.1 ns *พื้นที่ความเสี่ยงสูงคือ ตำแหน่งอยู่ใกล้ ทางด่วน ถนน โรงงาน **ns : no significant คือ p-value > 0.05 *** ปีที่ประกาศมาตรฐานแบบสมัครใจมาตรฐาน มอก. 1406-2540 Flat enamel ให้มีตะกั่วได้ไม่เกิน 0.06% โดยน้ำหนักของสารที่ไม่ระเหย (600 ppm)

  29. เปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ลักษณะ สารตะกั่วสูง สารตะกั่วอยู่ในเกณฑ์ รวม p-value -สีทาภายในอาคาร 9 716 - -สีทาภายนอกอาคาร 1 3 4 - -การหลุดลอกของสี 7 5 12 ns -ชนิดของสี 9 8 17 - -สีน้ำมัน 8 5 13 ns -สีน้ำ 0 3 3 - -สีพลาสติก 1 0 1 - -ดินทรายสนามเด็กเล่น 1 12 13 -

  30. เปรียบเทียบผลการศึกษาสารตะกั่วในสีทาบ้านเปรียบเทียบผลการศึกษาสารตะกั่วในสีทาบ้าน

  31. การนำไปใช้ทางคลินิก (1) • - ความชุกของสิ่งแวดล้อมที่มีระดับสารตะกั่วสูงในสิทาบ้านที่มากกว่าค่ามาตรฐาน ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนฯ คือร้อยละ 52.9(9 ใน 17 ศูนย์) • - ระดับตะกั่วในสารละลาย (Soluble lead) ที่พบในสีทาบ้านมีค่าตั้งแต่ 44 - 4,212 ppm (ค่าปกติ<90 ppm.) • -ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครมากกว่า 50% มีโอกาสพบสารตะกั่วในสีทาบ้านที่มากกว่าค่ามาตรฐาน(85 – 225 ศูนย์) • -เด็กที่มีความเสี่ยงกว่า 15,000 คน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรต้องหาแนวทางแก้ไขและป้องกันสารตะกั่วเป็นพิษ (8,315 – 22,080 คน)

  32. การนำไปใช้ทางคลินิก (2) แนวทางการลดความเสี่ยง 1.1 จัดตั้งทีมปรับปรุงสารตะกั่ว (Lead Renovation team) เพื่อทำการปรับปรุงซ่อมแซมและแก้ไขสารตะกั่วที่สูงกว่าค่ามาตรฐาน โดยยึดแนวทางการดำเนินงาน และวิธีการต่างๆ ตาม แนวทางของ EPA (U.S Environmental Protection Agency) 1.2 แนวทางการลดสารตะกั่วอย่างเร่งด่วน -ให้ความรู้กับครูและผู้ดูแลเด็กในการป้องกันสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม เช่น การล้างมือ การทำความสะอาด

  33. แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบสีที่ขายในท้องตลาด (กระทรวงอุตสาหกรรม และ สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค) เพื่อหาวิธีการควบคุมระดับสารตะกั่ว หรือ หาวิธีการแจ้งแก่ผู้บริโภคให้ชัดเจนในการเลือกใช้สีให้ถูกต้อง • แจ้งแก่ผู้เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็ก (กทม กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นรับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็กส่วนภูมิภาค กระทรวงพัฒนาสังคมรับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็กเอกชน และกระทรวงสาธารณสุข) เพื่อดำเนินการขยายผลการเฝ้าระวังต่อไป

  34. การประชุมสัมมนา

  35. ขั้นตอนการดำเนินงาน

  36. ผลการดำเนินงาน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  37. ข้อสรุป “ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงกว่าค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ที่สำคัญพบว่าไม่มีระดับ สารตะกั่วในเลือดค่าใดที่ถือว่าปลอดภัยอย่างแท้จริง เพราะพิษตะกั่วที่มีผลต่อสมองจะเกิดอย่างถาวรแม้ว่า จะทำการรักษาแล้วก็ตาม ” Household interventions for prevention of domestic lead exposure in children (protocal) , Cochrane review2006

  38. กิตติกรรมประกาศ • ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมการศึกษา • ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก

  39. ขอบคุณค่ะ

More Related