1 / 4

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมยาง  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.

Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1.  อุตสาหกรรมยาง  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุงจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดนครศรีธรรมราช สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 838 แห่ง (สปช. 762 แห่ง และ สศ. 76 แห่ง) สังกัด เอกชน 201 แห่ง สังกัด กศน. 24 แห่ง สังกัด สกอ. 8 แห่ง สังกัด สอศ. 11 แห่ง 1.วท.นครศรีธรรมราช 2. วท.สิชล 3. วท. ทุ่งสง 4.วทอ.นครศรีธรรมราช 5. วอศ.นครศรีธรรมราช 6. วศ.นครศรีธรรมราช 7.วษท.นครศรีธรรมราช 8. วช.นครศรีธรรมราช 9. วก.นครศรีธรรมราช 10.วก.หัวไทร 11.วก.พรหมคีรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับทะเลอ่าวไทย • ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจหลักของ • ภาคใต้และประเทศไทย คือจังหวัดสงขลา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 65,759 บาท ต่อปี (อันดับ 10 • ของภาค อันดับ33 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 26.12% รองลงมาการทำเหมืองแร่ • และเหมืองหิน15.54% การผลิตอุตสาหกรรม13.04% • และสาขาการขายส่งและการขายปลีก 12.87% • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง กาแฟ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,504,420 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 124,109 คน หรือ 12.73% • จำนวนผู้ว่างงาน 19,070คน เป็นชาย 10,895 คน เป็นหญิง 8,175คน อัตราการว่างงาน 1.2% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 449,143 คน หรือ 49.93% รองลงมา พนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 147,573 คน 16.4% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ช่างซ่อมบำรุงอุตสาหกรรม 2) ธุรกิจบริการ 3) เกษตรอินทรีย์ • 4) หัตถกรรมพื้นบ้าน 5) แปรรูปสัตว์น้ำ 6) ผลิตภัณฑ์อาหาร 7) ผ้าทอมือ • 8) ช่างบริการคอมพิวเตอร์ 9) งานก่อสร้าง 10) เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • (ที่มา อศจ.นครศรีธรรมราช) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 337,886 คน หรือ 37.56%รองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 281,173 คนหรือ 31.25% และและช่วยธุรกิจครัวเรือน 195,068 คน 21.68 % • ลำดับแรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 14,772 คน หรือ 1.64% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยม • ศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 666,117 คน หรือ 74.04% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 32,140 คน หรือ 3.57% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมยาง มีสถานประกอบการ 122 แห่ง มีการจ้างงาน 4,912 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 121 แห่ง มีการจ้างงาน 4,734 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดตรัง สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 353 แห่ง (สปช. 324 แห่ง และ สศ. 29 แห่ง) สังกัด เอกชน 56 แห่ง สังกัด กศน. 10 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1.วท.ตรัง 2. วษท.ตรัง 3. วช.ตรัง 4. วก.ตรัง 5. วก.ห้วยยอด 6. วก.ปะเหลียน 7. วก.กันตัง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้และทิศตะวันตก มีเขตติดต่อทะเลอันดามัน • มหาสมุทรอินเดีย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 72,666 บาท ต่อปี(อันดับ 7 • ของภาค อันดับ 27 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 45.11 % รองลงมาสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม 14.67 % และสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 12.84 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • หมูย่าง และพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ยางพารา • ปาล์มน้ำมัน ข้าวนาปี • ประชากร • จำนวนประชากร 602,045 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 51,413 คน หรือ 13.09% • จำนวนผู้ว่างงาน 5,666 คน เป็นชาย 2,545 คน เป็นหญิง 3,121 คน อัตราการว่างงาน 0.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 185,455 คน หรือ 48.82% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและตลาด 54,765 คน หรือ 14.42% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทำขนมเพื่อจำหน่าย 2) ศิลปะประดิษฐ์ตำบลกันตังใต้ 3) กลุ่มเครื่องแกงตำมือ • 4) ทำปลาเค็ม 5) การทำเครื่องมือประมงพื้นบ้าน 6) การปลูกผักเพื่อการค้า • 7) การนวดเพื่อสุขภาพ 8) ช่างสีและตัวถังรถยนต์ 9) ทำกะปิเพื่อจำหน่าย • 10) ทำดอกไม้ประดิษฐ์ (ที่มา อศจ.ตรัง) • ประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 156,071 คน หรือ 41.09 %ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 113,624 คนหรือ 29.91% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 64,467 คน หรือ 16.97% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 9,436 คน หรือ 2.48% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 272,246 คน หรือ 71.68% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,205 คน หรือ 2.95% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 83 แห่ง มีการจ้างงาน 4,349 คน รองลงมาอุตสาหกรรมยาง มีสถานประกอบการ 83 แห่ง มีการจ้างงาน 3,706 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  4. จังหวัดพัทลุง สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 281 แห่ง (สปช. 251 แห่ง และ สศ. 30 แห่ง) สังกัด เอกชน 51 แห่ง สังกัด กศน. 11 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1.วท.พัทลุง 2. วท.พัทลุงแห่งที่ 2 3. วษท.พัทลุง 4. วช.พัทลุง 5. วก.บางแก้ว 6. วก.ควนขนุน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศใต้ มีเขตติดต่อกับ • จังหวัดเศรษฐกิจของภาคและประเทศไทย คือ • จังหวัดสงขลา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 47,898 บาท ต่อปี (อันดับ 13 • ของภาค อันดับ 48 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 31.44 % รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก 21.43 % • พืชเศรษฐกิจของจังหวัด • ยางพารา ข้าวนาปี ไม้ผล • ประชากร • จำนวนประชากร 500,501 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 38,766 คน หรือ 11.84% • จำนวนผู้ว่างงาน 1,992คน เป็นชาย 1,131คน เป็นหญิง 861 คน อัตราการว่างงาน 0.4% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 157,701 คน หรือ 57.81% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 45,576 คน หรือ 14.97% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ค้าขาย 2) การทำปลาร้า 3) ทอเสื่อกระจูด • 4) ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว 5) โรงงานยาง 6) โรงเลื่อย • 7) ตัดเย็บเสื้อผ้า 8) รับจ้างทั่วไป 9) ธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ • 10) ธุรกิจบริการ (รถรับจ้าง ,ที่พัก) (ที่มา อศจ.พัทลุง) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 114,361 คน หรือ 37.57% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 80,461 คน หรือ 26.43% และเป็นลูกจ้างเอกชน 72,108 คน หรือ 23.69% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,440 คน หรือ 1.79 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น - ต่ำกว่าประถมศึกษา 211,387 คน หรือ 69.44% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 10,567 คน หรือ 3.47% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก มีสถานประกอบการ 65แห่ง มีการจ้างงาน 895 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 45 แห่ง มีการจ้างงาน 877คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

More Related