1 / 24

บทที่ 6 ตัวแปรในภาษาซี

C-Programming. บทที่ 6 ตัวแปรในภาษาซี. C Programming. C-Programming. มีอะไรบ้างในบทนี้. C Programming. 3.1 การเก็บค่าในภาษาซี 3.2 กฎการตั้งชื่อตัวแปร 3.3 วิธีการสร้างตัวแปรและการกำหนดค่า 3.4 ภาษาซีกับตัวแปรแบบข้อความ 3.5 การแสดงค่าจากตัวแปร 3.6 การนำตัวแปรไปใช้ในการคำนวณ

Download Presentation

บทที่ 6 ตัวแปรในภาษาซี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. C-Programming บทที่ 6 ตัวแปรในภาษาซี C Programming

  2. C-Programming มีอะไรบ้างในบทนี้ C Programming • 3.1 การเก็บค่าในภาษาซี • 3.2 กฎการตั้งชื่อตัวแปร • 3.3 วิธีการสร้างตัวแปรและการกำหนดค่า • 3.4 ภาษาซีกับตัวแปรแบบข้อความ • 3.5 การแสดงค่าจากตัวแปร • 3.6 การนำตัวแปรไปใช้ในการคำนวณ • 3.7 การรับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร • 3.8 ค่าคงที่ในภาษาซี • 3.9 สรุป จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  3. C-Programming 3.1 การเก็บค่าในภาษา C C Programming • มี 2 ลักษณะคือ • เก็บค่าแบบค่าคงที่(constant) • เก็บค่าแบบตัวแปร(variable) • ค่าคงที่เมื่อสร้างขึ้นมาแล้วเราจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขค่าได้เลย เช่น a=20; • การเก็บค่าแบบตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงค่าเป็นอะไรก็ได้ตามที่ต้องการ เช่น char ch; จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  4. C-Programming 3.1 การเก็บค่าในภาษา C C Programming • การสร้างตัวแปรจะต้องทราบว่าตัวแปรนั้นเก็บค่าอะไร เช่น เลขจำนวนเต็ม เลขทศนิยม ข้อความ หรือตัวอักษร เป็นต้นโดยแบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ • Character Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บอักขระ • Integer Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บเลขจำนวนเต็ม • Float Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บเลขจำนวนทศนิยม จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  5. C-Programming Character Variable C Programming • แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ • Char เก็บค่า ASCII ของตัวอักษรได้ตั้งแต่ -128 ถึง 127 • Unsigned char เก็บค่า ASCII ของตัวอักษรได้ตั้งแต่ 0-255 • ตัวแปรแบบ character จะใช้ในกรณีที่เราต้องการเก็บอักขระ 1 ตัว เช่น a,b หรือ c เป็นต้น สิ่งที่เราเก็บก็คือ ตัวอักษร 1 ตัว ซึ่งมีค่า ASCII อยู่ระหว่าง 0 ถึง 255 ดังนั้นถ้าเราประกาศตัวแปรแบบ char เราจะใช้ตัวแปรนั้นเก็บข้อมูลได้เป็นค่าใดค่าหนึ่งในรหัส ASCII เท่านั้น จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  6. C-Programming Character Variable C Programming • วิธีประกาศตัวแปรแบบ Character เขียนได้ดังนี้ • char ch; • unsigned char c; • ส่วนมากแล้วมักไม่มีความแตกต่างระหว่าง char และ unsigned char ดังนั้นจึงมักประกาศเป็น char เป็นส่วนใหญ่ -128 ถึง127 0 ถึง255 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  7. C-Programming Integer Variable C Programming • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • int หรือ short เก็บเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ -32,768ถึง 32,767 • Long เก็บเลขจำนวนเต็มตั้งแต่-2,147,483,648ถึง2,147,483,647 • วิธีการใช้คือถ้าต้องการตัวเลขจำนวนเต็มมากกว่า 32,767 เราจะต้องประกาศตัวแปรแบบ long ถ้าน้อยกว่าก็ประกาศแบบ int ดังตัวอย่าง จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  8. C-Programming Integer Variable C Programming • int a,b,c; • int age; • int height; • long salary,money; • เราประกาศตัวแปร a,b,c ageheight แบบ int เนื่องจาก ต้องการให้เก็บค่าที่อยู่ระหว่าง -32,768 ถึง 32,767 เท่านั้น แต่ salary และ money มีโอกาสจะมีค่ามากกว่า นั้นดังนั้นจึงต้องประกาศเป็น long จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  9. C-Programming Float Variable C Programming • แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ • Float เก็บทศนิยมได้ 3.4E+/-38 (ทศนิยม 7 ตำแหน่ง) • Double เก็บทศนิยมได้ 1.7E+/-308 (ทศนิยม 15 ตำแหน่ง) • Long Double เก็บทศนิยมได้ 1.2E+/-4932 (ทศนิยม 19 ตำแหน่ง) float grade; double rate; long double longrate; จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  10. C-Programming กฎการตั้งชื่อตัวแปร C Programming • ต้องไม่มีอักษรพิเศษใดๆ ประกอบอยู่ด้วย เช่น ! @ # $ % ^ & * ( • สามารถใช้เครื่องหมาย underscore ( _ ) ได้ • ชื่อตัวแปรมีตัวเลขปนอยู่ได้ แต่ต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข • ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ • ใช้ได้ทั้งพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่ • ชื่อเหมือนกันแต่เป็นพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ ถือว่าคนละชื่อกัน • ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน เช่น char long while do จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  11. #include<stdio.h> void main() { int age; char sex; float grade; age = 20; sex = ‘f’; grade = 3.14; } #include<stdio.h> void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; } C-Programming 3.3 วิธีการสร้างตัวแปรและการกำหนดค่า C Programming จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  12. C-Programming 3.4 ภาษาซีกับตัวแปรแบบข้อความ C Programming • นำตัวแปร charมาเรียงต่อกันเรียกว่าตัวแปรแบบสตริง(String) • การประกาศตัวแปรแบบสตริง จะต้องกำหนดขนาดด้วยตัวอย่าง • char name[15] = “Jacky Chan”; • ตัวแปรชื่อ nameมีความยาว 15 ช่องตัวอักษร และเก็บข้อความ Jacky Chanเอาไว้ ซึ่งการประกาศตัวแปร 15 ช่องเอาไว้ ที่เหลือจะเป็นช่องว่างเฉยๆ ไม่มีตัวอักษรบรรจุอยู่ J a c k y C h a n 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  13. C-Programming 3.5 การแสดงค่าจากตัวแปร C Programming #include<stdio.h> void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; char name[10] = “malee”; printf(“You are %s\n”,name); printf(“You are %c\n”,sex); printf(“You are %d years old\n”,age); printf(“You grade is %f\n”,grade); } You are malee You are f You are 20 years old Your grade is 3.140000 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  14. C-Programming ตารางแสดงสัญลักษณ์แสดงผล C Programming สัญลักษณ์ ใช้สำหรับ %d แสดงค่าที่เป็นเลขจำนวนเต็ม %s แสดงค่าที่เป็นสตริง %f แสดงค่าที่เป็นเลขทศนิยม %c แสดงค่าที่เป็นตัวอักษร 1 ตัว %o แสดงค่าของตัวเลขในรูปฐานแปด %x แสดงค่าของตัวเลขในรูปฐานสิบหก จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  15. C-Programming 3.6 การนำตัวแปรไปใช้ในการคำนวณ C Programming #include<stdio.h> void main() { int a; int b; int c; int ans; a = 20; b = 40; c = 5; ans = (a+b)/c; printf(“Answer is %d\n”, ans); } Answer is 12 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  16. C-Programming เครื่องหมายที่ใช้กับตัวแปร C Programming ++ เพิ่มค่าขึ้น 1 -- ลดค่าลง 1 += เพิ่มค่าตามจำนวนที่ต้องการ -= ลดค่าตามจำนวนที่ต้องการ *= คูณค่าในตัวแปรด้วยจำนวนที่ต้องการ /= หารค่าในตัวแปรด้วยจำนวนที่ต้องการ จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  17. C-Programming เครื่องหมายที่ใช้กับตัวแปร C Programming int a = 5; int b = 6; คำสั่ง มีผลเหมือนกับ ผลที่ได้ a+=4; a=a+4; บวกค่าอีก 4 b--; b=b-1; ลดค่าลงไป 1 a*=2; a=a*2; a คูณ 2 a/=2 a=a/2; a หารด้วย 2 จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  18. C-Programming 3.7 การรับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร C Programming ตัวอย่างscanf1.c #include<stdio.h> void main() { int age; printf(“How old are you ?\n”); scanf(“%d”,&age); printf(“You are %d years old.\n”,age); } How old are you? 20 You are 20 years old. จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  19. C-Programming 3.7 การรับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร C Programming ตัวอย่าง scanf2.c #include<stdio.h> void main() { char sex; printf(“You are male (M) or female (F) ?\n”); scanf(“%c”,&sex); printf(“You are sex is %c.\n”,sex); } You are male (M) or female (F) ? M You are sex is M. จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  20. C-Programming ตัวอย่าง scanf3.c C Programming #include<stdio.h> void main() { char name[15]; double grade; printf(“What is your name ?\n”); scanf(“%s”, name); printf(“Enter your GPA ”); scanf(“%f”,&grade); printf(“Hello %s, your GPA is %f.\n”, name ,grade); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  21. C-Programming 3.8 ค่าคงที่ในภาษาซี C Programming • ค่าคงที่จะต่างจากตัวแปรที่ค่าคงที่จะเก็บค่าเอาไว้เพียงค่าเดียวตลอดทั้งโปรแกรม โดยที่เราสร้างค่าคงที่แล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าของมันได้ • การตั้งชื่อค่าคงที่จะใช้กฎเดียวกันกับการตั้งชื่อตัวแปร แต่นิยมตั้งชื่อค่าคงที่ให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างชื่อตัวแปรกับชื่อค่าคงที่ • ค่าคงที่ในภาษาซีมี 2 คำสั่งคือ • คำสั่ง const • และ #define จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  22. C-Programming การใช้คำสั่ง constสร้างค่าคงที่ C Programming ตัวอย่างโปรแกรม const1.c #include<stdio.h> void main() { const double pi=3.14; const float K=4; const char ch= ‘A’; const char company[10]=“INTER”; printf(“pi = %d\n”,pi); printf(“K = %f\n”,K); printf(“ch = %d\n”,ch); printf(“company name = %s”,company); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  23. C-Programming การใช้คำสั่ง #defineสร้างค่าคงที่ C Programming ตัวอย่างโปรแกรม define1.c #include<stdio.h> #define PI 3.14 #define NAME “SASALAK” #define CH ‘a’ void main() { printf(“PI = %f\n”,PI); printf(“NAME = %s\n”,NAME); printf(“PI = %c\n”,CH); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

  24. C-Programming การใช้คำสั่ง #defineสร้างค่าคงที่ C Programming ตัวอย่างโปรแกรม define2.c #include<stdio.h> #define PI 3.14 #define AREA(x) PI*x*x void main() { int r; printf(“R = ?”); scanf(“%d”, &r); printf(“Area = %f”,AREA(r) ); } จันทร์ดารา สุขสาม @Rmuti Surin Campus : 2555

More Related