1 / 22

การเตรียมพร้อมทั้งเชิงรุกและรับ ของอุดมศึกษาไทยใน AEC

การเตรียมพร้อมทั้งเชิงรุกและรับ ของอุดมศึกษาไทยใน AEC. ดร. วรัย พร แสงนภาบวร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการศึกษาระหว่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. อาเซียนในแผนที่โลก. ASEAN Community by 2015. คำขวัญอาเซียน:

Download Presentation

การเตรียมพร้อมทั้งเชิงรุกและรับ ของอุดมศึกษาไทยใน AEC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมพร้อมทั้งเชิงรุกและรับของอุดมศึกษาไทยใน AEC ดร.วรัยพร แสงนภาบวร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการศึกษาระหว่างประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

  2. อาเซียนในแผนที่โลก

  3. ASEAN Community by 2015 คำขวัญอาเซียน: "One Vision, One Identity, One Community"วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว

  4. Structure of the ASEAN Community ASEAN Community by 2015 เสาที่ 1 ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political Security Community APSC ASEAN Economic Community AEC ASEAN Socio-cultural Community ASCC เสาที่ 2 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เสาที่ 3 ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรม

  5. สรุปผลสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้ของเยาวชนเกี่ยวกับอาเซียนสรุปผลสำรวจทัศนคติและการตระหนักรู้ของเยาวชนเกี่ยวกับอาเซียน สำรวจจากจำนวนนักศึกษา 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ในช่วง ปี พ.ศ. 2551 – 2552 ที่มา:กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

  6. ถามว่า คุณรู้สึกว่าคุณเป็นประชาชนอาเซียน

  7. ถามว่า โดยทั่วไปคุณคุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนแค่ไหน

  8. ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด

  9. ถามว่าอยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆ มากแค่ไหนตอบว่า อยากรู้มาก ถึง มากที่สุด

  10. สกศ. พัฒนาสมรรถนะข้าราชการเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • ความรู้เกี่ยวกับกฎบัตรอาเซียน และ ๓ เสาหลักของประชาคมอาเซียน • การเจรจาความร่วมมือระหว่างประเทศ • ทักษะการรับรองชาวต่างประเทศในการประชุมนานาชาติ • การทดสอบและการอบรมภาษาอังกฤษ • นโยบายการศึกษาเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

  11. นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552 - 2561) มุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีเป้าหมายหลัก 3 ประการคือ     1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย     2. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหาร และจัดการศึกษากรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษามี 4 ประการ คือ1. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่     2. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่     3. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่     4. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่

  12. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย

  13. ข้อเสนอเชิงนโยบาย/แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนข้อเสนอเชิงนโยบาย/แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน • การจัดการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในสาระและรายละเอียดของกฎบัตรอาเซียน • การจัดการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และเพิ่มพูนทักษะการใช้ภาษาอังกฤษซึ่งถูกกำหนดในข้อตกลงเบื้องต้นให้ใช้เป็นภาษาอาเซียน ให้แก่คนไทยในทุกระดับ • การจัดการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน อย่างน้อย 1 ประเทศ เช่น ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม ภาษามาเลย์

  14. ข้อเสนอเชิงนโยบาย/แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนข้อเสนอเชิงนโยบาย/แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 4. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน และส่งเสริมความเป็นพลเมืองอาเซียน 5. การแลกเปลี่ยนเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ระหว่างประเทศ การถ่ายโอนหน่วยกิต และการแลกเปลี่ยนบุคลากร • การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมด้านอื่นๆ เพื่อรองรับผลอันเนื่องมาจากความร่วมมือในเสาหลักต่างๆ เมื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน • การกำหนดมาตรฐานวิชาชีพสาขาต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่มาตรฐานอาเซียน

  15. สถาบันภาษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำรวจพบว่า บัณฑิตสายวิทยาศาสตร์ที่จบการศึกษาจากจุฬาฯ ซึ่งน่าจะมี ความสามารถทางภาษาอังกฤษสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานของบุคคลทั่วไป มีผลคะแนนการสอบภาษาอังกฤษเทียบเท่าคะแนน TOEFL ที่ระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 450คะแนนเท่านั้น ซึ่งต่ำกว่าบัณฑิตจากประเทศสิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์ ที่มีค่าเฉลี่ยคะแนน TOEFL เกิน550คะแนน ในขณะที่บัณฑิต จากประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย พม่า เวียดนาม และกัมพูชา มีค่าเฉลี่ยคะแนน TOEFL เกิน 500 คะแนน

  16. การวิจัยแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อรองรับการวิจัยแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อรองรับ การเปิดเสรีทางการศึกษา ผลกระทบในทางบวก • เกิดการแข่งขันสูง สถานศึกษาต้องพัฒนาคุณภาพ • ผู้รับบริการมีทางเลือกมากขึ้น • ได้เรียนรู้จากวัฒนธรรมที่หลากหลาย จากนักศึกษาและอาจารย์ • นำรายได้เข้าประเทศ ผลกระทบในทางลบ • หากแก้กฎหมายให้ผู้บริหารไม่ต้องมีสัญชาติไทย • อาจกระทบเรื่องความมั่นคง • หากไม่ควบคุมคุณภาพอาจเกิดปัญหา

  17. การพัฒนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualification Framework – NQF) รายละเอียด องค์ประกอบของ ระดับคุณวุฒิ กลไก /เติมเต็ม/เชื่อมโยง/เทียบเคียง ผลลัพธ์การเรียนรู้ ตามระดับคุณวุฒิ การศึกษา ระดับ คุณวุฒิ 1-7 • ความรู้ • ทักษะ • การประยุกต์ใช้ • ความรู้/ทักษะ • และคุณลักษณะ • ที่พึงประสงค์ • ฝึกอบรม • ทดสอบ • ประเมิน • เทียบประสบการณ์ • ฯลฯ • อุดมศึกษา • อาชีวศึกษา • การศึกษาขั้นพื้นฐาน

  18. การวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้การวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค นโยบายระดับประเทศ/กระทรวง • มีเป้าหมายการรับนักศึกษาต่างชาติ • กำหนดสถาบันอุดมศึกษาที่รับนักศึกษาต่างชาติ • สนับสนุนงบประมาณ และทุนการศึกษา • อำนวยความสะดวกเรื่องวีซ่า การมีงานทำ • มีหน่วยงานในต่างประเทศ เช่นเดียวกับ British Council, • Australia Education International

  19. การวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้การวิจัยนโยบายและยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค นโยบายระดับสถานศึกษา • การพัฒนาหลักสูตร การเปิดโปรแกรมนานาชาติ • การพัฒนาคณาจารย์ • การมีสถาบันสอนภาษา • มีระบบพี่เลี้ยงดูแล • มีฝ่ายกิจการนักศึกษาต่างชาติ • อำนวยความสะดวกเรื่อง หอพัก อาหาร ความปลอดภัย • เปิดสอนหลักสูตรที่เป็นจุดแข็งของประเทศไทย เช่น อาหารไทย • การท่องเที่ยว แพทย์แผนไทย การดูแลผู้สูงอายุ ภาษาไทย

  20. ยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค ของการอุดมศึกษาประเทศมาเลเซีย • เปลี่ยนจากส่งคนไปเรียนต่างประเทศ เป็น รับคนต่างชาติเข้ามาเรียน • ใช้จุดแข็งสร้างเครือข่ายลูกค้า ได้แก่ • - เครือข่ายจักรภพอังกฤษ เช่น อัฟริกา • - เครือข่ายเชื้อชาติ เช่น จีน อินเดีย • - เครือข่ายภาษา เช่น อินโดนีเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ตอนใต้ • - เครือข่ายศาสนา เช่น กลุ่มประเทศมุสลิมในอาหรับ • เปิดโปรแกรมนานาชาติ ใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน • เชิญอาจารย์ที่มีชื่อเสียงเข้ามาสอนและบริหาร ทำวิจัยในมาตรฐานสากล • เปิดรับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกเข้าไปตั้งสาขา เป็นหลักสูตร 2+2

  21. คำถาม มหาวิทยาลัยจะเตรียมตัวอย่างไรเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • หลักสูตร • ภาษา • คณาจารย์ • ระบบดูแลนักศึกษาต่างชาติ • สาธารณูปโภค หอพัก • วีซ่า • ทุนการศึกษา • ความปลอดภัย

  22. ขออำนวยพรให้ทุกท่านประสบความสำเร็จตามความมุ่งหวังเป็นพลังที่เข้มแข็งในการนำประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียนมอาเซียนอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี

More Related