1 / 57

ผลกระทบจาก FTA ต่อการเกษตร และระบบการศึกษาของไทย

ผลกระทบจาก FTA ต่อการเกษตร และระบบการศึกษาของไทย. 4 สิงหาคม 2547. Outline. ภาค 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับ FTA FTA คืออะไร ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น ทำไมไทยต้องทำ FTA ไทยได้อะไรจาก FTA ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ ผลกระทบอื่นๆ กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ

carolina
Download Presentation

ผลกระทบจาก FTA ต่อการเกษตร และระบบการศึกษาของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบจาก FTA ต่อการเกษตร และระบบการศึกษาของไทย 4 สิงหาคม 2547

  2. Outline ภาค 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับ FTA • FTA คืออะไร • ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • ทำไมไทยต้องทำ FTA • ไทยได้อะไรจาก FTA • ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผลกระทบอื่นๆ • กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • การเลือกคู่เจรจาพิจารณาจากอะไรบ้าง • ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • ภาครัฐมีการเตรียมการในเรื่อง FTA อย่างไรบ้าง • ความคาดหวัง:ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ FTA • การเตรียมความพร้อมของภาคเอกชน ภาค 2 FTA กับการเกษตรและระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา • ความตกลงเกษตร กับ FTA • FTA กับการศึกษา • การเตรียมความพร้อมและมาตรการรองรับ • กรณีตัวอย่าง ออสเตรเลีย/จีน

  3. 1. FTA คืออะไร • เขตการค้าเสรี (Free Trade Area-FTA) ประกอบด้วย • สองประเทศขึ้นไป • ตกลงจะทำการค้ากัน • พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด • ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน

  4. 2. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การเปิดเจรจาการค้ารอบใหม่ของ WTO หยุดชะงัก • “มังกรตื่นจากหลับไหล” • จีนเข้าเป็นสมาชิกของ WTO ทำให้ประเทศต่างๆ เกิดความหวั่นเกรงต่อศักยภาพด้านการแข่งขันของจีน • ขยายอำนาจทางเศรษฐกิจในอนาคต • ความได้เปรียบจาก • ตลาดบริโภคขนาดใหญ่ • แรงงานราคาถูก รองรับการผลิต • มีศักยภาพในการส่งออกสูง

  5. 2. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การทำเขตการค้าเสรีเป็นการให้แต้มต่อ ส่งผลกระทบต่อประเทศที่อยู่นอกกลุ่ม เกิดแรงกระตุ้นทั้งระบบ • ใช้ FTA เป็นวิธีในการ • หาเพื่อน - สร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง • หาตลาด - ขยายการค้าและการลงทุนกับภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกล • ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเล็กแต่มีระบบเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเต็มที่อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และชิลี ได้ใช้ยุทธวิธีนี้อย่างแข็งขัน

  6. แนวโน้มการทำเขตการค้าเสรีแนวโน้มการทำเขตการค้าเสรี โลกมีแนวโน้มทำเขตการค้าเสรีมากขึ้น 70% เป็น Bilateral FTAs Source : WTO

  7. 3. ทำไมไทยต้องทำ FTA • อยู่นิ่ง เท่ากับ ถดถอย • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ เช่น สหรัฐ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ต่างทำFTA • การค้าระหว่างประเทศ มีผลมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย • คิดเป็นร้อยละ 56.4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (2546) • สถานการณ์แข่งขันการค้าโลกรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น • ไทยเสียสิทธิทางภาษีที่เคยได้ เช่น GSP ในขณะที่แอฟริกา และอเมริกาใต้ยังได้อยู่ ไทยเสียเปรียบ และเสียส่วนแบ่งตลาด • “รุก” ในส่วนที่ทำได้ ดีกว่ารอรับอย่างเดียว

  8. เป้าหมายด้านเศรษฐกิจของไทย Trade and Investment Hub in Asia Top 20 World Exporter Top 5 Investment Destination in Asia สร้างฐานเศรษฐกิจที่เข้มแข็งโดย Dual track policies

  9. 4. ไทยได้อะไรจาก FTA • ขยายการค้าสู่ตลาดใหญ่ • จีน – 1,300 ล้านคน • อินเดีย – 1,000 ล้านคน • เปิดประตูไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ แทนตลาดเดิมที่เริ่มอิ่มตัว • ตะวันออกกลาง - บาร์เรน • อเมริกาใต้ – เปรู

  10. 4. ไทยได้อะไรจาก FTA • ยกระดับความสามารถการแข่งขันทางการผลิตของไทย • วัตถุดิบถูกลง • ได้เทคโนโลยีใหม่ๆ • นักลงทุนมีความเชื่อมั่นมากขึ้น • การลงทุนจากต่างประเทศไหลเข้าสู่ไทย • สร้างพันธมิตรที่จะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจ • เพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลก

  11. เป้าหมายการเจรจา • ผลิตภัณฑ์เกษตร • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์และอุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ • สินค้า Electronic Commerce • NTBs • SPS • AD / CVD • RO • TBT • Environment • Others • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพ • ความงาม • บริการธุรกิจ • ขนส่ง / Logistics • ก่อสร้างและออกแบบ • การศึกษา • บริการ • อุตสาหกรรมเกษตร • อุตสาหกรรมแฟชั่น • อุตสาหกรรมยานยนต์ • ICT • บริการ • การลงทุน

  12. 5. ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้ผลิต • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • ต้นทุนการผลิตลดลง • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้ส่งออก • การขยายตลาดและเพิ่มศักยภาพในการส่งออกสินค้าและบริการ

  13. 5. ใครเป็นผู้ที่จะได้รับประโยชน์ • ผู้นำเข้า • นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก • สามารถนำเข้าจากแหล่งนำเข้าจากหลายประเทศ • ผู้บริโภค • ซื้อสินค้าได้ในราคาที่ถูกลง • เลือกซื้อสินค้าได้หลากหลายมากขึ้น

  14. 6. ผลกระทบอื่นๆ • ใครเป็นผู้ที่จะเสียประโยชน์ • ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมเกิดใหม่ที่ต้องการการปกป้องจากรัฐบาล • ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำ และแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ำ • อย่างไรก็ตาม การเปิดเสรีไม่ได้ทำในคราวเดียว ผู้ผลิตยังมีเวลาปรับตัว เช่น เรื่องหางนมกับออสเตรเลีย กว่าจะลดภาษีเหลือ 0% ใช้เวลาถึง 20 ปี • มาตรการรองรับปรับตัว

  15. 7. กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไทยไปสู่สาขาที่ไทยมีความพร้อม และได้เปรียบ • ออกจากธุรกิจที่ไม่มีประสิทธิภาพในการแข่งขันและส่งผลกระทบต่อคนส่วนน้อย หากจำเป็น----รัฐต้องมีมาตรการรองรับที่ชัดเจน • สินค้า • อาหาร (แช่เย็น แช่แข็ง และสำเร็จรูป) • แฟชั่น • เสื้อผ้า อัญมณี เครื่องประดับ เครื่องหนัง • รถยนต์และชิ้นส่วน

  16. 7. กลุ่มสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ • บริการ • การท่องเที่ยว • ภัตตาคาร โรงแรม การบิน ขนส่งทางอากาศ • การบริการสุขภาพ และ Life Science • โรงพยาบาล การตรวจสุขภาพ การดูแลผู้สูงอายุ สปา การบริการ Long-stay • หมอ พยาบาล ทันตแพทย์ • การวิจัยและพัฒนายา • การก่อสร้าง และออกแบบตกแต่ง • ก่อสร้าง วิศวกรรม สถาปัตยกรรม ออกแบบตกแต่งภายใน ออกแบบเครื่องแต่งกายเครื่องประดับ

  17. 8. การเลือกคู่เจรจาพิจารณาจากอะไรบ้าง • ประเทศที่เป็นตลาดดั้งเดิมของไทย • สหรัฐฯ และญี่ปุ่น : ตลาดส่งออกอันดับหนึ่งและสอง • การขยายตลาดใหม่ที่มีศักยภาพ • จีน อินเดีย : จำนวนประชากร , แหล่งวัตถุดิบราคาถูก • ประเทศที่เป็นประตูการค้าและการลงทุน สู่ภูมิภาคต่างๆ • บาร์เรน (ตะวันออกกลาง) • เปรู (อเมริกาใต้)

  18. 9. ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง คืบหน้าอย่างไร • คู่เจรจาของไทย • 8 ประเทศ + 1 กลุ่มเศรษฐกิจ (จีน อินเดีย บาห์เรน ออสเตรเลีย สหรัฐฯ ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ เปรู และ BIMST-EC) • เจรจาเสร็จแล้ว 1 ประเทศ : ออสเตรเลีย • เริ่มเจรจา ภายในปี 2547 • สหรัฐฯ • ญี่ปุ่น • นิวซีแลนด์ • ลงนามในกรอบความตกลงฯแล้ว อยู่ระหว่างเจรจารายละเอียด • 5 ประเทศ • จีน • บาห์เรน • อินเดีย • เปรู • BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน)

  19. 8+1 FTA China USA India Japan Bahrain BIMST-EC Peru Australia New Zealand • Total trade with Thailand 43.8% • Include AFTA 62.5%

  20. FTA Work Plan Jan 04 Apr 04 July 04 Oct 04 Jan 05 Apr 05 July 05 Oct 05 Jan 06 Australia มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2005 China July 04 (goods) 2005 (services) Bahrain Oct 04 New Zealand Nov 04 05-06 USA Japan Dec 04 Peru Nov 04 BIMST-EC Dec 05 India Jan 06

  21. สาระสำคัญในความตกลง FTA การเปิดตลาดสินค้า (เกษตรและอุตสาหกรรม) - การลดภาษี - มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี - ขบวนการทางศุลกากร - มาตรฐานสินค้า (TBT และ SPS) -แหล่งกำเนิดสินค้า - มาตรการปกป้อง - มาตรการต้อต้านการทุ่มตลาด และตอบโต้การอุดหนุน การเปิดตลาดด้านการค้าบริการและการลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ เรื่องอื่นๆ - ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า - นโยบายการแข่งขัน - การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ - พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - สิ่งแวดล้อม - แรงงาน

  22. 10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • เร่งมือเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป • กระแสลมของการเปลี่ยนแปลงพัดแรงขึ้นทุกวัน • ไม่เร็วเกินไป เมื่อดูจากกระแสการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจโลกยุค “ฟ้าบ่กั้น” (Globalization) ที่มีการจับคู่เศรษฐกิจการค้า และการรวมกลุ่มการค้า เช่น FTAA EU • ถ้ารอช้ากว่านี้ อาจจะเสียมากกว่าได้: จีนกำลังเจรจากับออสเตรเลีย แอฟริกาใต้ จะเจรจากับจีน อินเดีย

  23. 10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • ถ้ารอให้พร้อม เมือไหร่คือพร้อม ธุรกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว ไทยและทุกประเทศไม่มีใครพร้อม 100% และไม่มีวันพร้อมถ้าไม่ลงไปเรียนรู้จากการเข้าไปทำจริง ซึ่งไทยมีความสามารถสูงในการปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป

  24. 10. ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า • การทำ FTA ครอบคลุมทุกสินค้า แต่ไม่ได้หมายถึงต้องเปิดพร้อมกันทุกรายการสินค้า • กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน • กลุ่มที่ไม่พร้อมก็เก็บไว้ • อะไรง่ายทำก่อน อะไรยากทำทีหลัง • ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อมกลุ่มที่ยาก ในระหว่างนั้น

  25. 11. ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมในเรื่อง FTA อย่างไร

  26. ทีม FTA คณะรัฐมนตรี กนศ. คณะเจรจา คณะทำงาน ประสานยุทธศาสตร์ และนโยบายการ เจรจาการค้า ระหว่างประเทศ (ที่ปรึกษารองนายกฯ) (สมพล เกียรติไพบูลย์) คณะทำงาน ติดตามผลการเจรจา (ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี) Australia&NZ การุณ กิตติสถาพร อภิรดี ตันตราภรณ์ Bahrain China สมพล เกียรติไพบูลย์ India & BIMSTEC ปานปรีย์ พหิทธานุกร Japan พิศาล มาณวพัฒน์ Peru กันตธีร์ ศุภมงคล US นิตย์ พิบูลสงคราม

  27. คณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศคณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ การเปิดตลาดสินค้า กระทรวงพาณิชย์ แหล่งกำเนิดสินค้า กระทรวงการคลัง การลด/เลิกอุปสรรคทางการค้า - มาตรฐานสุขอนามัย - มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงอุตสาหกรรม การค้าบริการ กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การลงทุน BOI ทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา E-commerce กระทรวง ICT

  28. การรองรับผลการเจรจา (Implementation) คณะทำงานรองรับผลการเจรจา ปรับโครงสร้าง เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อรองรับการเปิดเสรี ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านเทคโนโลยี • พัฒนาตลาดเชิงรุก • Thailand Market Place • พัฒนาระบบข้อมูลการตลาด • Marketing Survey • พัฒนาบุคลากร • Inter-trader • พัฒนาสินค้า • Brand image • พัฒนาระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ • ช่วยเหลือผู้ผลิตที่ได้รับผลกระทบ • กระทรวงเกษตร • กระทรวงอุตสาหกรรม • กระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการผลิต การบริหาร จัดการ

  29. 12. ความคาดหวัง : ภาครัฐมีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ FTA สร้างภูมคุ้มกันในประเทศให้เข็มแข็ง • ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนการให้บริการของภาครัฐ • มีระบบควบคุมมีระบบเตือนภัย • ปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • มีมาตรการส่งเสริมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ • สร้างกลไกประสานความร่วมมือกับภาคเอกชน

  30. ภาค 2FTA การเกษตรและระบบอุดมศึกษา 2.1 FTA กับการเกษตร 2.2 FTA กับระบบอุดมศึกษา

  31. 2.1 ความตกลง FTA ที่เกี่ยวกับการเกษตร 1.การเปิดตลาด -ลดภาษีลงเหลือ 0% ภายในเวลาที่ตกลงกัน - มาตรฐานด้านสุขอนามัย (SPS) มาตรฐานสินค้า - การลดการอุดหนุน

  32. วิธีการลดภาษี : แบ่งสินค้าออกเป็น 3-4 กลุ่ม* สินค้าลดภาษีกลุ่มแรก * สินค้าลดปกติ (Normal Track) /สินค้าที่ต้องเจรจา แลกเปลี่ยน * สินค้าอ่อนไหว (Sensitive Track) ใช้เวลาในการ ปรับตัวนาน มีโควตาภาษี * สินค้าที่อ่อนไหวมาก มีมาตรการปกป้องพิเศษ ใช้เวลา ปรับตัวนานมาก

  33. มาตรการ SPS • อิงหลัก WTO • พัฒนาระบบมาตรฐาน SPSในประเทศ • กำหนดมาตรฐานนำเข้า • เจรจาความร่วมมือ : MRA, Equivalency, Expert Group

  34. มาตรการปกป้อง (Safeguards) • สินค้าเกษตรไม่อ่อนไหว – มีมาตรการปกป้อง (Bilateral Safeguards)เพื่อบรรเทาความเสียหาย โดยขึ้นภาษีนำเข้าได้ แต่ต้องพิสูจน์ความเสียหาย • สินค้าเกษตรอ่อนไหว – มีมาตรการปกป้องพิเศษ (Special Safeguards)โดยขึ้นภาษีนำเข้าได้ หากมีการนำเข้ามากเกินเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละปี

  35. 13. FTA กับระบบอุดมศึกษา • การเปิดเสรีการค้าบริการ: ด้านการศึกษา • การเรียนผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ • ส่งบุตรหลานไปศึกษาต่างประเทศ • ให้ต่างประเทศเข้ามาลงทุน/ร่วมลงทุนในการจัดตั้งมหาวิทยาลัย • ให้อาจารย์ต่างชาติเข้ามาสอนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย • ให้อาจารย์ไทยไปสอนในมหาวิทยาลัยต่างประเทศ

  36. 13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา • พัฒนาบุคลากร • พัฒนาแรงงานฝีมือ และช่างเทคนิค • พัฒนาแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด • การสอนต้องทันต่อโลก(ที่ไร้พรมแดน และ)เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป • พัฒนาภาษา เพื่อใช้ในการติดต่อกับประเทศที่ทำ FTA (อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น สเปน อาราบิค ฯลฯ)

  37. 13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา • การผลิต : พัฒนาสินค้า • ศึกษาสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการแข่งขัน • ผลิตสินค้าให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด • การเก็บรักษาสินค้าหลังเก็บเกี่ยว • การแปรรูปเพิ่มมูลค่า • พัฒนารูปแบบและคุณภาพสินค้า • ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้าให้สูงขึ้นเพื่อเข้าสู่ตลาดระดับบน • ลดการแข่งขันในสินค้าระดับล่าง • สร้าง Brand Nameสินค้าของไทยสู่ตลาดโลก

  38. 13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา • ขยายตลาดเชิงรุก • ใช้การตลาดเป็นตัวนำ เกษตรกรต้องรู้จักเรื่องการตลาดด้วย • ขยายช่องทางการตลาดในการเข้าถึงผู้ซื้อโดยตรงมากขึ้น • มีกระบวนการผลิตและการส่งมอบสินค้าอย่างรวดเร็ว • พัฒนาความเข็มแข็งของเกษตรกร • รู้ทันโลก • การรวมกลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพ

  39. 13. FTA: บทบาทของระบบอุดมศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การจัดการ และการดำเนินธุรกิจ • แนะนำการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ • การใช้ระบบ supply chain management • E - commerce • วิจัยและพัฒนา (R&D) • พัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตให้สูงขึ้น 35

  40. กรณีตัวอย่าง • FTA ไทย-ออสเตรเลีย • Early Harvest ไทย-จีน

  41. ตัวอย่างผลการเจรจาการลดภาษีสินค้า ไทย-ออสเตรเลีย จำนวนรายการสินค้าที่มีภาษีเป็นศูนย์ในแต่ละปี (เป็นร้อยละ) พ.ศ. ประเทศ

  42. สินค้านมและผลิตภัณฑ์นม (HS0401-0406) สินค้านมที่มีโควตาภาษี

  43. 15,000 TAFTA TAFTA TAFTA 3,523 3,011 2,200 2,547 TAFTA WTO WTO WTO WTO WTO การเปิดตลาดนมผงของไทย

  44. สินค้านมที่ไม่มีโควตาภาษีสินค้านมที่ไม่มีโควตาภาษี

  45. กรณีตัวอย่าง ไทย-ออสเตรเลีย มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช • จัดตั้งExpert Group on SPS and Food Standardsเพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้ให้มีผลลุล่วงใน 2 ปี • สินค้าสำคัญลำดับแรกของไทย มี 9 รายการ คือ มังคุด ลิ้นจี่ ลำไย ทุเรียน สับปะรด เนื้อไก่ กุ้ง มะม่วงและปลาสวยงาม • สินค้าสำคัญลำดับแรกของออสเตรเลีย มี 5 รายการ ได้แก่ ส้มในตระกูลซิตรัส (นาเวล, แมนดาริน, แทงโก้, ส้มโอ)หน่อไม้ฝรั่งมันฝรั่งโคกระบือมีชีวิตและอาหารสัตว์เลี้ยง

  46. การเปิดตลาดด้านการค้าบริการและการลงทุนการเปิดตลาดด้านการค้าบริการและการลงทุน • ครอบคลุมธุรกิจทุกประเภท • ค่อยๆ เจรจาเปิดตลาดในธุรกิจที่มีความพร้อมในทุก 3 ปี • ให้การคุ้มครองและส่งเสริมการลงทุนระหว่างกัน • การเปิดตลาดของไทยแก่ออสเตรเลียมีความสอดคล้องและเป็นไปตามกรอบของกฎหมาย และกฎระเบียบในประเทศที่เป็นอยู่

  47. การเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา:กรณีตัวอย่าง FTA ไทย-ออสเตรเลีย • ให้ออสเตรเลียเข้ามาจัดตั้งมหาวิทยาลัยได้ โดย • ถือหุ้นข้างมากสูงสุด 60% ในปี 2548 • ต้องเป็นสถาบันที่สอนในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวม Life science, bio-technology, nano-technology • ต้องตั้งอยู่นอกกรุงเทพ หรือจังหวัดใหญ่ • สมาชิกของ University Council กึ่งหนึ่งต้องมีสัญชาติไทย • ให้อาจารย์ต่างชาติเข้ามาสอนในมหาวิทยาลัยในประเทศไทยในกรณีที่ได้รับเชิญ หรือว่าจ้าง และต้องมีคุณวุฒิและประสบการณ์

  48. การปรับตัวของไทย • ให้ความสนใจทำการค้ากับออสเตรเลียมากขึ้น ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบสินค้าให้สนองความต้องการของตลาดออสเตรเลีย • พิจารณามาตรการรองรับผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นกับ อุตสาหกรรมภายในประเทศ ได้แก่ การส่งเสริมและปรับปรุง มาตรฐานการเลี้ยงและการลดต้นทุนค่าใช้จ่าย เป็นต้น • ในส่วนมหาวิทยาลัย ต้องพัฒนาระบบ/แผนงานการศึกษา โดยคำนึงถึงการแข่งขันจากภายนอก • หาพันธมิตรร่วมมือในด้านการขยายการค้าและการลงทุน

  49. บทบาทของการศึกษาระดับอุดมศึกษา: กรณีออสเตรเลีย • ศึกษาศักยภาพสินค้าเกษตรของไทย วางแผนการผลิตและการค้าระหว่างประเทศ • ยุทธศาสตร์โคนม โคเนื้อ • พัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรในประเทศ และมาตรฐานนำเข้า :ส้ม ไก่เนื้อ โคเนื้อ นมสด ฯลฯ • ให้การศึกษาในด้าน เพิ่มคุณภาพสินค้า • การขนส่ง Logistic สินค้าเกษตร

  50. สินค้าลดภาษีกลุ่มแรก (Early Harvest) ไทย - จีน • ลงนามความตกลง มีผลบังคับใช้ 1 ตค. 2003 • สินค้าผัก – ผลไม้ (พิกัด 07-08) การจัดทำเขตการค้าเสรี อาเซียน - จีน

More Related