1 / 30

Construction Management การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง

Construction Management การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง. หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ. จัดเตรียมองค์การ บุคลากรในหน่วยงาน จัดพื้นที่หน่วยงาน Site Layout จัดระบบเอกสาร วางแผนงาน งานบัญชี และงานจัดหา ตรวจงานด้านเทคนิควิศวกรรม. หน้าที่ของผู้จัดการ.

carina
Download Presentation

Construction Management การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Construction Management การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง

  2. หน้าที่ของผู้จัดการโครงการหน้าที่ของผู้จัดการโครงการ • จัดเตรียมองค์การ บุคลากรในหน่วยงาน • จัดพื้นที่หน่วยงาน Site Layout • จัดระบบเอกสาร • วางแผนงาน • งานบัญชี และงานจัดหา • ตรวจงานด้านเทคนิควิศวกรรม

  3. หน้าที่ของผู้จัดการ • ต้องทราบสิ่งที่จะต้องทำ เพื่อให้ที่ทำงาน “พร้อม” ด้วยทรัพยากรทุกอย่าง และทำงานได้อย่างไม่สะดุด • ผู้จัดการต้องให้บุคคลอื่นทำงานตามต้องการ ให้ทราบหน้าที่ของตนเองและทำงานได้อย่างมีคุณภาพ • ผู้จัดการต้องรับผิดชอบในงานที่สั่งออกไป • ผู้จัดการสามารถปรับเปลี่ยนงานได้ตามความเหมาะสม

  4. ทักษะของวิศวกรโครงการทักษะของวิศวกรโครงการ • ทักษะด้านเทคนิค วิศวกรรม เป็นพื้นฐาน • ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ประสานงานระหว่างบุคคล • ทักษะด้านการจัดการ ทำให้งานดำเนินไปได้ รวดเร็ว ไม่ติดขัด และ แก้ไขปัญหาต่างๆ • ท่านต้องตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีที่มาที่ไป อ้างอิงทฤษฎี

  5. ทีมงานสนามโดยทั่วไป • วิศวกรโครงการ • วิศวกรสนาม • โฟร์แมน • ดราฟท์แมน • เซฟตี้ • สโตร์ • เลขานุการหน่วยงาน

  6. จัดองค์การ งานขนาดเล็ก • วิศวกร 1 คน ทำงานทุกอย่าง • โฟร์แมน 1 คน คอยช่วยเหลือวิศวกร • ดราฟท์แมน 0 คน • เซฟตี้ 0 คน • สโตร์ 0 คน • เลขานุการหน่วยงาน 0 คน • สรุป ใช้ วิศวกร 1 คน โฟร์แมน 1-2 คน

  7. จัดองค์การ งานขนาดกลาง • วิศวกรโครงการหรือผู้จัดการโครงการคนเดียวกัน 1 คน ทำงานที่สำคัญได้แก่ การวางแผนงาน การจัดหา สิ่งต่างๆ วัสดุและคนงาน การต่อรองราคา ดูงานเป็นครั้งคราว พิจารณาแผนและโครงสร้างส่วนที่สำคัญและค่าใช้จ่ายมาก อาจมีเลขานุการช่วยงานเอกสารและจัดซื้อ 1 คน เป็นตัวแทนในการประชุม • วิศวกรสนาม 1-2 คน เน้นงานด้านวิศวกรรม ตรวจสอบรายละเอียดของงานที่ดำเนินไป ตรวจสอบแผนงาน ตรวจสอบแบบ ออกแบบแก้ไข ตรวจสอบวัสดุ รายงานให้ผู้จัดการโครงการตัดสินใจ อาจตัดสินใจเองได้บ้างในบางเรื่อง บางครั้งเจ้าประชุมแทนวิศวกรโครงการได้ด้วย

  8. จัดองค์การ งานขนาดกลาง • โฟร์แมน 2-5 คน ส่วนใหญ่จะเป็นงานด้านเทคนิค ประจำหน้างานตลอดเวลา แต่ไม่มีสิทธิตัดสินใจมากนัก เร่งงานกับหัวหน้าคนงาน ทำรายงานระยะสั้น รายงานปัญหาที่สำคัญ อาจจะแบ่งส่วนงานกันได้ แล้วแต่ขนาดของงานว่าจำเป็นหรือไม่ • สโตร์ 2 คน ผลัด • เซฟตี้ 0 คน • ดราฟท์แมน ประจำอย่างน้อย 1คน (อาจใช้โฟร์แมนได้)

  9. จัดองค์การ งานขนาดใหญ่ • ผู้จัดการโครงการ 1คน ดูงานส่วนที่สำคัญจริงๆ ดูและงบประมาณ แผนงานและการจัดซื้อวัสดุที่สำคัญๆ ประสานงานกับเจ้าของงาน • วิศวกรโครงการ 2-3 คน หรือมากกว่านั้น แบ่งงานออกเป็นส่วนๆให้รับผิดชอบ อาจมี Senior Engineer คอยควบคุม ดูแลงานเทคนิคและแผนงาน หรืออาจจะแยกเป็น Scheduler, Cost Engineer, Design Engineer เฉพาะทาง • วิศวกรสนาม 5 คนขึ้นไปเน้นงานด้านเทคนิคมากขึ้นอีก แบ่งตามงานส่วนย่อยๆมากขึ้น รายงานต่อวิศวกรโครงการ • โฟร์แมน (ตามปริมาณงานที่จำเป็น) ประจำหน้างานตลอดเวลา ประสานงาน ควบคุมงานเฉพาะจุดด้านเทคนิคเพียงอย่างเดียว อาจต้องมีจำนวนมาก

  10. จัดองค์การ งานขนาดใหญ่ • เซฟตี้ อาจมี 1-2 คนน่าจะเพียงพอ ดูแลด้านความปลอดภัย • เลขานุการ 5-10 คน อาจจำเป็นต้องสร้างฝ่ายธุรการสนามขึ้นโดยเฉพาะ มีเจ้าหน้าที่จัดซื้อ เจ้าหน้าที่บัญชี อยู่ที่หน่วยงานเลย • สโตร์ ตามขนาดงาน • ดราฟท์แมน ตามขนาดงาน ควรจะเป็นคอมพิวเตอร์ดราฟท์ • แม่บ้าน • ยาม • แผนกซ่อมบำรุงเครื่องจักร

  11. การวางแผนงาน • ด้านวัสดุ • ด้านเครื่องมือ • ด้านแรงงาน • จัดทำเป็นแผนการจัดหา การใช้ และแผนการเงิน

  12. การวางแผนงาน ด้านวัสดุ • จากแผนงานหลัก List รายชื่อผู้ผลิตและผู้แทนจำหน่ายวัสดุทั้งหมด(Supplier) • ติดต่อ Supplier เพื่อตกลงเจรจาซื้อขายและต่อรองราคาวัสดุตาม Spec ที่กำหนด • และที่สำคัญคือ การกำหนดวันจัดส่งวัสดุให้สอดคล้องกับแผนงาน • จัดเตรียมที่เก็บวัสดุ เพื่อพร้อมทำงาน • ในโครงการตัวอย่างได้จัดทำแผนความต้องการใช้คอนกรีตอย่างน้อย 3 เดือน

  13. การวางแผนงาน ด้านเครื่องมือ • จากแผนงานหลัก List แหล่งที่มาของเครื่องมือเครื่องจักรที่จำเป็นใช้ทั้งหมด ตั้งแต่เครื่องจักรหนัก เครน รถขุด รถบรรทุก ปัมพ์คอนกรีต ไปจนกระทั่งเครื่องมือขนาดย่อมเช่น โม่ปูน เครื่องจี้คอนกรีต ฯลฯ • ตัดสินใจว่าจะซื้อหรือเช่า หรือเป็นสิ่งที่บริษัทมีอยู่แล้ว • เตรียมวางแผนการใช้เงิน เช่นเดียวกับการจัดซื้อวัสดุ

  14. การวางแผนงาน ด้านแรงงาน • จากแผนงานหลัก List จำนวนแรงงานที่ต้องใช้ และประเภทแรงงาน • แหล่งที่มาของแรงงาน Confirm การมาของแรงงาน • ดูแลเรื่องที่พัก Camp และค่าใช้จ่ายทั้งหมด • ทดสอบฝีมือแรงงาน • มาตรการด้านความปลอดภัยและเครื่องแต่งกายของแรงงาน

  15. จัดหาคนงาน • เจ้าประจำ • ติดต่อหัวหน้างาน (Headman) • ตกลงรูปแบบค่าจ้าง พิจารณาเวลาตามแผนงาน • ควรจะมาเป็นกลุ่ม • มีการทดสอบฝีมือช่างใหม่ • ดูแลความสงบ • จัดระบบทะเบียนและการลงเวลาทำงาน

  16. จัดหาเครื่องจักร • เครื่องจักรของบริษัท • ซื้อใหม่ เช่า • เก่า/ใหม่ • คัดเลือกชนิดและขนาดให้เหมาะกับการทำงาน • พิจารณาถึงค่าซ่อมบำรุงและค่าคนขับ • ควรใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบทางเศรษฐศาสตร์

  17. จัดหาวัสดุก่อสร้าง • ตรวจสอบราคาต่อหน่วย • พิจารณาเปรียบเทียบจาก Supplier หลายๆเจ้า • ขอใบเสนอราคาเปรียบเทียบ ช่วงเวลายืนราคา • ตรวจสอบคุณภาพวัสดุ เช่น คอนกรีตผสมเสร็จ • มั่นใจว่าสามารถจัดส่งวัสดุได้ครบและทันเวลา • ซื้อจำนวนมากสามารถต่อรองราคาได้

  18. ทักษะที่ใช้ในการจัดหาทักษะที่ใช้ในการจัดหา • การขยันหาข้อมูล • การขยันหาพันธมิตรทางธุรกิจ • เทคนิคการเจรจาต่อรอง • การติดต่อสื่อสารที่เข้าใจตรงกัน • การติดตามงาน • การบริหารงานบุคคล • การจัดหาที่ดีสามารถประหยัดเงินได้มากทีเดียว

  19. การประชุมในหน่วยงานก่อสร้างการประชุมในหน่วยงานก่อสร้าง • ที่ประชุมเกินกึ่งหนึ่งเริ่มประชุมได้ • เริ่มจากทบทวนรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว • เรื่องสืบเนื่อง - พิจารณาเรื่องที่คุยกันครั้งที่แล้วว่ามีสืบเนื่องหรือไม่ ปัญหาได้รับการแก้ไขหรือยัง • รายงานการก่อสร้าง - แต่ละฝ่ายรายงานความก้าวหน้าและปัญหาที่เกิดขึ้น • เรื่องที่แจ้ง - หากมีเรื่องใหม่ ให้หยิบยกขึ้นมาพูดคุย • นัดวัน เวลา ประชุมครั้งหน้า

  20. การประชุมในหน่วยงานก่อสร้างการประชุมในหน่วยงานก่อสร้าง • ตรงต่อเวลา • การรายงานต้องสั้น รวดเร็ว ได้ใจความ • พูดคุยให้ตรงประเด็นปัญหา • ทุกครั้งที่จบเรื่อง 1 เรื่องต้องหาข้อสรุปให้ได้ • การรายงาน หากเป็นเรื่องทั่วไปให้รวบรัด เน้นจุดที่สำคัญ มีปัญหา หากเรื่องใดคาดว่าจะขัดแย้งหรือกระทบฝ่ายหรือองค์กรอื่น ให้รายงานมาก่อน • เลขานุการจดบันทึกการประชุม ห้ามตกประเด็นสำคัญ

  21. การติดต่อสื่อสาร • พูดชัดเจน • ตรงประเด็น ไม่อ้อมค้อม • ขยายให้ชัดเจนความถ้าจำเป็น • รับฟังคู่สนทนา • เข้าใจถึงความคิดของคู่สนทนา • ใช้เหตุผลในการคุย ไม่ดูที่ตัวบุคคล

  22. การเขียน Memo • สั้น • ตรงประเด็น • อ้างอิงจากเอกสารเดิม • ใช้ภาษาเขียน ไม่ใช่ภาษาพูด • ใช้ภาษาแสดงเจตนาที่สุภาพ

  23. เอกสารใช้ในหน่วยงานก่อสร้างDocuments in Construction

  24. เอกสารก่อสร้าง เอกสารก่อสร้าง พอจะแย่งออกตามวัตถุประสงค์ได้ ดังนี้1. เอกสารข้อมูลโครงการ2. เอกสารการติดต่อสื่อสาร3. เอกสารสัญญา4. เอกสารการเงิน5. เอกสารทางเทคนิค6. รายงานการก่อสร้าง

  25. เอกสารข้อมูลโครงการ - บัญชีบุคลากร- Organization Chart สายการบังคับบัญชา- หน้าที่และความรับผิดชอบ Job Description- บัญชีทรัพย์สินในหน่วยงาน อุปกรณ์ต่างๆ- เอกสารเกี่ยวกับความปลอดภัย- เอกสารคุณภาพต่างๆ

  26. การติดต่อสื่อสาร - เอกสาร หนังสือต่างๆ เพื่อแจ้งให้อีกฝ่ายทราบ- บัญชีรับเอกสารหนังสือ เข้า-ออก- แฟกซ์- เมโม (Memo)- เอกสารขออนุมัติต่างๆ ภายในภายนอก- เอกสารแจ้งให้ทราบ- อีเมลล์

  27. เอกสารสัญญา - สัญญาก่อสร้าง- เอกสารแนบสัญญา- ใบขออนุญาตก่อสร้าง- เอกสารรับรองควบคุมงาน- เอกสารประกันภัย- โฉนดที่ดินฯลฯ

  28. เอกสารการเงิน -BOQ รายการประมาณราคาทั้ง BOQ เพื่อการประกวดราคาและ BOQ เพื่อการวางแผนงาน- Cashflow - ใบสั่งซื้อ ใบเสนอราคา- ใบรับของ- บันทึกการจ่ายค่าจ้างแรงงาน- บัญชีการเงิน- เอกสารงานเพิ่มลด - เอกสารเบิกงวดงาน ใบเสร็จรับเงิน

  29. เอกสารทางเทคนิค -Specification - ตำราทางวิชาการอ้างอิง- รายการคำนวณ - แบบก่อสร้าง- Shop Drawings- รายการออกแบบแก้ไข- ตัวอย่างวัสดุ เอกสารทางทดสอบตัวอย่าง- เอกสารยื่นขอเปลี่ยนแปลง- บันทึกการตรวจหน้างาน และรายการอนุมัติ

  30. เอกสารรายงานการก่อสร้างเอกสารรายงานการก่อสร้าง - รายงานความก้าวหน้า- Barchart แผนงานหลัก- แผนงานย่อย Short Interval Plan- แผนการใช้ทรัพยากร คนงาน เครื่องจักร - แผนการใช้วัสดุ- รายงานประจำวัน - รายงานประจำเดือน- รายงานประจำสามเดือน- บันทึกการประชุม

More Related