1 / 58

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม. วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว. ทบทวนวันวาน. วันที่ สาม - ทัศนคติเรื่องเพศ ( เลือกข้าง) - การยอมรับพฤติกรรม (ปรับ) - ผู้ให้ คำปรึกษา ( คนกับต้นไม้) - ทักษะการฟัง / การสะท้อน / การถาม.

Download Presentation

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ :การเตรียมความพร้อมครูระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว

  2. ทบทวนวันวาน วันที่สาม - ทัศนคติเรื่องเพศ (เลือกข้าง) - การยอมรับพฤติกรรม (ปรับ) • - ผู้ให้คำปรึกษา (คนกับต้นไม้) • - ทักษะการฟัง / การสะท้อน / การถาม วันแรก ๑. สถานีรู้เขารู้เรา ๒. เส้นชีวิต ๓. ย้อนรอยวัยรุ่น ๔. หนัง Freedom writers วันที่สอง . ดูหนัง “ทางเลือก” - ความหลากหลายของเยาวชน - ทางเลือก / การตัดสินใจ - ข้อมูลเรื่องเพศ - ท้องไม่พร้อม - โอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี (แลกน้ำ) - ข้อมูลเรื่องเอดส์ /การอยู่ร่วมกัน (หนังสั้น “หนึ่งวันชีวิตบวก”) สิ่งสำคัญที่ได้เรียนรู้ ? วาดรูป

  3. สิ่งที่ได้เรียนรู้ • โดนบังคับ ........ถึงผ่านกิจกรรมมากมาย.....สิ่งที่เรียนรู้สามารถนำไปขยายผลและพยายามทำให้ได้ • บรรยากาศของโรงเรียนมีหลากหลาย สามารถทำให้มีชีวิตชีวาได้ ต้องอาศัยเวลา • ความรักเป็นเรื่องสวยงาม/ดี • รัก + ป้องกัน • มีความรู้เรื่องการป้องกันที่ชัดเจน • วัยรุ่นมีคำถามและความลับในเรื่องเพศมากมาย • การหาที่ระบายและปรึกษาในเรื่องเพศ • ผู้โอบอุ้ม ช่วยเหลือมีส่วนร่วม โดยโรงเรียนและครอบครัว • การช่วยเหลือด้วยใจ • การฟังด้วยหัวใจ • ฟังมากๆ พูดน้อยๆ • ฟังแล้วไม่ตัดสินถูกผิด • ปรึกษาแล้วมีความสุข

  4. (ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน

  5. Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

  6. สาธิตบทบาทสมมุติ role playการให้การปรึกษา • ให้สังเกตบทบาทของผู้ให้การปรึกษา ว่ามีจุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงในเรื่องใด

  7. บทบาทของผู้ให้การปรึกษา ว่ามีจุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงในเรื่องใด • บางคำถามเหมือนตัดสิน ตำหนิ เช่น รู้ใช่ไหมแล้วทำไมทำ? • น้ำเสียงตำหนิ ตอกย้ำพฤติกรรม • ไม่มีข้อมูลครบถ้วน • ผู้ให้คำปรึกษาฟังแล้วสั่งสอน • เด็กมีความสับสนในการให้ข้อมูล • ควรสร้างข้อตกลงว่าทุกอย่างเป็นความลับ • สภาพของคนที่กังวลในเรื่องท้องไม่พร้อมมีความกังวลน้อยเกินความเป็นจริง • ขาดการสัมผัสบำบัด • ให้กำลังใจ • ชี้แนะให้ผู้รับบริการหาทางออกด้วยตัวเอง • มีการสะท้อนเป็นระยะๆ • รับฟังอย่างใส่ใจ • มีการตั้งคำถามเป็นระยะๆ • บุคคลิกน่าเชื่อถือ ไว้ใจ อบอุ่น • Empowermentการเสริมศักยภาพผู้รับบริการ • Optionมีทางเลือก

  8. การปรึกษาCounseling Counselor ผู้ให้บริการปรึกษา Counselee ( Client ) ผู้รับบริการ

  9. การให้คำปรึกษา • ผูให้คำปรึกษา (Counseller) • ผู้รับบริการ (Clien

  10. ฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษา • กรณีศึกษา ๑ นิด (ผู้หญิง) อายุ ๑๖ ปี เรียน ปวช. ๒ขณะนี้ตั้งครรภ์ได้ ๘ สัปดาห์ กับคู่ที่เพิ่งคบกันได้ประมาณ ๓ เดือน และยังไม่สามารถติดต่อได้ในขณะนี้ มีเพียงเพื่อนสนิทที่รู้เรื่องนี้ ในเบื้องต้นเมื่อรับรู้ว่าท้อง ก็รู้สึกหนักใจมากและคิดถึงการทำแท้ง • กรณีศึกษา ๒ หนุ่ม อายุ ๑๘ ปี มีแฟนเป็นเพื่อนต่างสถาบัน เพิ่งคบกันได้สองเดือน มีเพศสัมพันธ์กันตลอด โดยไม่ใช้ถุงยาง แต่ใช้การหลั่งข้างนอกทุกครั้ง เมื่อสัปดาห์ก่อนแฟนมาบอกว่า เมนส์ไม่มา หนุ่มกังวลใจมาก กลัวแฟนจะท้อง เพราะกำลังเรียนอยู่ ปวช.๓ และพ่อแม่ก็ยังไม่ได้รับรู้การมีแฟนของหนุ่ม

  11. ฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษา • กรณีศึกษา ๓ มายด์ผู้หญิงหน้าตาดี เรียนปวช. ๒ ติดเชื้อเอชไอวีมาตั้งแต่เกิด กินยาต้านไวรัสทุกวัน ตอนนี้สุขภาพแข็งแรง ไม่มีใครรู้ว่ามายด์ติดเชื้อเอชไอวี นอกจากปู่กับย่า ที่ผ่านมาปู่กับย่าพูดตลอดว่าอย่าไปมีแฟน มันเป็นบาป เรามีกรรม มายด์รู้สึกอึดอัด คับแค้นใจว่าทำไมต้องต่างจากคนอื่น อยากใช้ชีวิตเหมือนเพื่อนคนอื่นๆ และตอนนี้อยากไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ที่ต่างจังหวัดมีทั้งเพื่อนผู้ชายและผู้หญิง แต่ปู่กับย่าไม่อนุญาติ จะทำยังไงดี

  12. “บริการสุขภาพที่เป็นมิตร” สำหรับเยาวชน • การรักษาความลับ/ส่วนตัว • ไม่เกิดการตีตรา • ได้มาตรฐาน • ครบวงจร • ฟรีหรือจ่ายน้อยที่สุด • ที่ตั้งหน่วยบริการเหมาะสม • เอื้อต่อวิถีชีวิตของผู้ใช้บริการ เช่นเวลาทำการ • บรรยากาศแห่งความเข้าใจ • การบอกบริการเชิงรุก

  13. บริการสุขภาพทางเพศที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น • ตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีและซิฟิลิส • ตรวจรักษาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ • ตรวจหามะเร็งปากมดลูก • คุมกำเนิด บริการฟรี สอบถามข้อมูล: 08-5340-0043

  14. ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ คลีนิคออนไลน์-แช็ตกับพยาบาล/หมอ

  15. “ก้าวย่างอย่างเข้าใจ”“ก้าวย่างอย่างเข้าใจ” หลักสูตรเพศศึกษาและ การพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต

  16. คู่มือเพศศึกษา ม. ๑- ม.๖

  17. อนุมาน

  18. ไก่กับแดง ไก่กับแดงเป็นเพื่อนสนิทกัน ทั้งสองชอบที่จะไปชอปปิ้งตามศูนย์การค้าหรูๆอยู่เสมอ วันหยุดที่ผ่านมาไก่กับแดงนัดกันไปชอปปิ้งที่ศูนย์การค้าสยามเซ็นเตอร์ เพื่อหาซื้อเสื้อผ้ายี่ห้อดังๆ ที่กำลังลดราคา ทั้งคู่นัดพบกันที่บันไดเลื่อนชั้น ๑ ในศูนย์การค้าเวลาเที่ยง เมื่อถึงวันนัดไก่ไปถึงก่อนเวลานัดและคอยที่บริเวณบันไดเลื่อนชั้น ๑ ตามที่ได้นัดหมายไว้ ไก่คอยอยู่บริเวณนั้นเป็นชั่วโมง โดยไม่กล้าเดินไปที่อื่น เพราะเกรงว่าถ้าแดงมาแล้วจะคลาดกันได้ แต่แดงก็ยังไม่มา ไก่เลยโทรศัพท์ไปหาแดง ปรากฏว่าติดต่อไม่ได้เลย ไก่รู้สึกไม่พอใจที่แดงมักผิดนัดกับตนอยู่บ่อยๆ ไก่เลยตัดสินใจเดินดูของตามที่ตั้งใจ แล้วก็กลับบ้านด้วยอารมณ์ที่ไม่สู้ดีนัก

  19. เกิดจาก... ค ส่งผล... . อนุมาน

  20. สิ่งที่ได้เรียนรู้

  21. กิจกรรม Closing: “ทบทวนหลักการเรียนรู้”

  22. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ • การเคารพ (Respect) • การรอ (Waiting) •  การเชื่อมโยงประเด็น (Weaving) •  การสร้างความรู้สึกความเป็นส่วนหนึ่ง (Inclusion) •  ความเกี่ยวข้องของประเด็นเนื้อหากับประสบการณ์ผู้เรียน (Relevancy) • การคำนึงถึงการนำไปปรับใช้ (Immediacy) •  การสรุปสาระสำคัญในแต่ละเรื่องร่วมกับผู้เรียน •  อื่นๆ .......................................... การใช้คำถามเปิด (Open Questions)  สไตล์การเรียนรู้(การอ่าน/ดู, การฟัง, การลงมือทำ)  การสร้างความรู้สึกปลอดภัย (Safety) การใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ และ 4As model การฟัง  สื่อสารสองทาง (Dialogue)  การสร้างการมีส่วนร่วม (Engagement)  ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน (Accountability)

  23. หลักการที่น่าจะถูกใช้มากกว่านี้หลักการที่น่าจะถูกใช้มากกว่านี้

  24. กิจกรรมรู้ว่าเสี่ยง แต่...

  25. ทุกครั้ง๑๐๐% บ่อยครั้ง๘๐% บางครั้ง๕๐% น้อยครั้ง/ไม่เคยเลย

  26. ทุกครั้ง๑๐๐% บ่อยครั้ง๘๐% คุณทำพฤติกรรมเหล่านี้ได้แค่ไหน ? บางครั้ง๕๐% น้อยครั้ง/ไม่เคยเลย

  27. ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ • ฉันเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน

  28. ไม่คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือไม่ใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ เสี่ยงต่อ... อุบัติเหตุ • ไม่เลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และไม่งดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน เสี่ยงต่อ....โรคภัยไข้เจ็บ, สุขภาพ, ไม่สวย

  29. ๑๐๐%(๓) เพื่อความปลอดภัยของตัวเอง เคยชิน ๘๐%(๑๐) มีเวลาเพียงพอ ไปไกล กลัวตำรวจจับ รีบ ลืม ไปใกล้ๆ ในซอย ไม่มีหมวกกันน็อค ๕๐%(๘) กลัวตำรวจจับ สะดวก ไปไกล รู้ว่าประมาทแต่ไม่คาด รีบ อึดอัด ไปใกล้ๆ รู้ว่าประมาท แต่ไม่คาด น้อยมาก/ไม่เคยเลย (ไม่มี) คาดเข็มขัดนิรภัย หรือ ใส่หมวกกันน็อคทุกครั้ง

  30. เลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วนเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน • ๕๐% (๙) • อยากเลือกที่มีประโยชน์ • คิดถึงประโยชน์ /ห่วงสุขภาพ • สุขภาพเริ่มป่วย • เลือกไม่ได้ ของฟรี • ของน่ากิน อยากกิน • ง่าย เคยชินกับการกินร้านเดิม • ไม่เคยอ้วน เวลาน้อย • น้อยมาก/ไม่เคยเลย (๕) • เอ็นโดโมฟี มีความสุข ยังไงก็ตาย • ตามใจปาก ชอบ กินไว้ก่อน • กินก็ไม่อ้วน อ้วนก็ไม่เป็น เก่งได้ • อาชีพครู เหนื่อย • เคยมีอาการป่วย หมอบอกให้ลดก็ไม่หาย • ๑๐๐% (๑) • เมียเป็นคนทำกับข้าว • เมียสั่ง • ไม่มีโอกาส • ๘๐% (๔) • เป็นครูสอนสุขศึกษา รู้/มีข้อมูล • เห็นประโยชน์ • เห็นคนใกล้ตัวป่วย • ไม่มีโอกาสให้เลือก /เลือกไม่ได้ • อร่อย /รู้รสชาติอื่นๆ • อดใจไม่ได้

  31. ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ • ฉันเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์และงดอาหารทุกชนิดที่ทำให้อ้วน

  32. ข้อสังเกต • เป็นเรื่องของตัวเอง • รู้ว่าเสี่ยง แต่ก็ทำ

  33. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้องทำอะไรบ้าง • ฝึก และลองทำบ่อยๆ • ทำให้เห็นผลกระทบที่ตามมา • ทำให้รู้สึกว่าอยากเปลี่ยน / แรงจูงใจ • สร้างสภาพแวดล้อม / คนรอบข้าง เอื้อต่อการเปลี่ยน

  34. “รณรงค์วัยรุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน” ส่วนใหญ่ทำได้ ๘๐% เชื่อ/ทำตาม๑๐๐% ทำได้น้อย/ห้ามไม่ได้เลย ครึ่ง-ครึ่ง๕๐%

  35. เด - เด็ก การห้ามวัยรุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน”

  36. สังคม การทำพฤติกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง การลองทำพฤติกรรมใหม่ เกิดแรงจูงใจที่จะทำ ปรับความคิด/มีทักษะ เกิดความรู้/ความตระหนัก ไม่ตระหนัก บุคคล กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  37. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ความรู้ และข้อมูลเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เปลี่ยนพฤติกรรม • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความพยายามต่อเนื่อง • การให้ข้อมูลที่ทำให้เกิดความกลัวมีข้อจำกัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน พฤติกรรม • พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม • พฤติกรรมบุคคลเป็นผลจากค่านิยมและการให้คุณค่าในสังคม • บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึ้น ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทำได้ • การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบัติของชุมชนและสภาพแวดล้อมด้วย

  38. รู้ว่าเสี่ยง...แต่ “เหตุผล” “ข้ออ้าง/ข้อแก้ตัว” โจทย์: • คนที่อยู่ในบทบาททำงานเปลี่ยนพฤติกรรม มักคิดว่า “พฤติกรรม” เปลี่ยนง่าย • คนมักเลือกใช้วิธีการให้ความรู้เป็นหลัก แล้วหวังว่า คนจะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • คนคิดว่า “คนอื่น” จะให้ความสำคัญในเรื่องต่างๆ (ความเสี่ยงในชีวิต) เหมือนตัวเอง • เหตุผลของ “คนนอก” และ “คนใน” ต่างกัน

  39. “...ไม่ว่าจะชอบ หรือไม่ชอบการกระทำใดก็ตาม ความจำเป็นประการแรกในอันที่จะควบคุมพฤติกรรมใด ต้องเริ่มต้นที่เข้าใจพฤติกรรมนั้นในทุกแง่มุมเสียก่อน...” ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ มองและเข้าใจตัวเอง เพื่อเข้าใจคนอื่น

  40. Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

  41. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม ต้อง.... • ระมัดระวังเรื่องการถ่ายทอดข้อมูลซึ่งต้องรอบด้าน • คำนึงถึงสภาพแวดล้อม หรือเงื่อนไขที่ส่งผล

  42. “สรุปกระบวนการอบรม”

  43. (ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน

  44. สิ่งที่ตัวเราอยากเปลี่ยน...หลังจากอบรม ๔ วันนี้

More Related