1 / 21

การวางแผนการตรวจสอบ

การวางแผนการตรวจสอบ. หมายถึง การพัฒนากลยุทธ์ทั่วไปและวิธีการโดยละเอียดสำหรับ. ลักษณะของการตรวจสอบ. ทดสอบการควบคุม ตรวจสอบเนื้อหาสาระ. ระยะเวลาและจังหวะเวลา ของการตรวจสอบ. Interim Visit Final Visit. ขอบเขตของการตรวจสอบ. ปริมาณการเลือก ตัวอย่างมาทดสอบ. รายละเอียดของงานตรวจสอบ. ดัชนี.

cally-lowe
Download Presentation

การวางแผนการตรวจสอบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวางแผนการตรวจสอบ หมายถึง การพัฒนากลยุทธ์ทั่วไปและวิธีการโดยละเอียดสำหรับ ลักษณะของการตรวจสอบ • ทดสอบการควบคุม • ตรวจสอบเนื้อหาสาระ ระยะเวลาและจังหวะเวลา ของการตรวจสอบ • Interim Visit • Final Visit ขอบเขตของการตรวจสอบ ปริมาณการเลือก ตัวอย่างมาทดสอบ สวียา ปรารถนาดี

  2. รายละเอียดของงานตรวจสอบรายละเอียดของงานตรวจสอบ ดัชนี ปลั๊ก เข็ม ข้าว ตอง ก่อ (1) (2) (1) (2) (1) (2) (1) (2) (1) (2) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย L หนี้สินหมุนเวียนอื่น M ทุนเรือนหุ้น N สำรองตามกฏหมาย O กำไร (ขาดทุน) สะสม P รายได้และค้าใช้จ่าย R ใบสำคัญรายวันทั่วไป Y รวม ส่วนหนึ่งของแผนการตรวจสอบ หมายเหตุ (1) การตรวจสอบก่อนวันสิ้นงวด (…………………………….…………) (2) การตรวจสอบสิ้นงวด (……………………………………….) สวียา ปรารถนาดี

  3. รวบรวมหลักฐานได้อย่างเพียงพอเหมาะสมรวบรวมหลักฐานได้อย่างเพียงพอเหมาะสม ต้นทุนในการตรวจสอบเกิดขึ้นอย่างเหมาะสม ลูกค้าให้ความร่วมมือและป้องกันการเข้าใจผิด ให้ CPA มั่นใจได้ว่ามีการพิจารณาเรื่องที่สำคัญอย่างเหมาะสม และสามารถระบุและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ เกิดการมอบงานอย่างเหมาะสม ประโยชน์ของการวางแผน การตรวจสอบ สวียา ปรารถนาดี

  4. ขั้นตอนของการวางแผนงานสอบบัญชีขั้นตอนของการวางแผนงานสอบบัญชี การพิจารณารับงานสอบบัญชี การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น การกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้ การทำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในและ การประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม การพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวมและแนวการสอบบัญชี สวียา ปรารถนาดี

  5. การรวบรวมข้อมูลธุรกิจที่ตรวจสอบการรวบรวมข้อมูลธุรกิจที่ตรวจสอบ • เพื่อให้เข้าใจในระบบบัญชี และวิธีการปฏิบัติทางบัญชีของกิจการที่ตรวจสอบ • เพื่อช่วยประเมินความเสี่ยงสืบเนื่องของกิจการที่ตรวจ • แหล่งความรู้เกี่ยวกับธุรกิจและกิจการที่ตรวจสอบ • ประสบการณ์ตรวจสอบของปีที่ผ่านมา • การปรึกษาหารือกับบุคลากรของกิจการ • หารือกับผู้สอบบัญชีอื่น ที่ปรึกษา กม. และด้านอื่นๆ • หารือกับผู้ที่มีความรู้จากภายนอกกิจการ • สิ่งตีพิมพ์ที่เกี่ยวกับธุรกิจ • กม. และ กฏเกณฑ์ที่มีผลกระทบสำคัญ • ตรวจเยี่ยมสถานประกอบการและโรงงาน • เอกสารที่กิจการจัดทำ สวียา ปรารถนาดี

  6. สวียา ปรารถนาดี

  7. การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้นการวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น บริษัท ตัวอย่าง จำกัด ข้อมูลทางการเงินสำหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบ (บางส่วน) สำหรับปี 25x4และ 25x3 หน่วย : ล้านบาท สวียา ปรารถนาดี

  8. การกำหนดระดับความมีสาระสำคัญการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ ระดับความมีสาระสำคัญ (Materiality Level)หมายถึง ระดับความไม่ถูกต้องของรายการและข้อมูลที่ผู้สอบบัญชียอมรับได้ โดยผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินอย่างไม่มีเงื่อนไขได้ แม้ว่า จะพบความไม่ถูกต้องของรายการและข้อมูลในงบการเงินซึ่งมิได้มีการปรับปรุงแก้ไข Accept 5% No Adjustment for 3% mistake Wrong 3% Clean Report Materiality Level สวียา ปรารถนาดี

  9. เกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญเกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ • ความมีสาระสำคัญเป็นการเปรียบเทียบเชิงสัมพัทธ์ มีสาระสำคัญไม่มีสาระสำคัญ ยอดขายที่ไม่ได้บันทึก 200,000 200,000 กำไรสุทธิ 5,000 65 ล้าน • สาระสำคัญ อาจกำหนดโดยใช้รายการในงบการเงินเป็นฐาน • เช่น หากมีการขัดต่อข้อเท็จจริง 10% ของกำไรสุทธิก่อนภาษี จะถือว่ารายการมีสาระสำคัญ ต้องปรับปรุงรายการ • (ฐาน : จากสินทรัพย์รวม จากกำไรขั้นต้น จากสินทรัพย์หมุนเวียน) สวียา ปรารถนาดี

  10. เกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญเกณฑ์ในการกำหนดระดับความมีสาระสำคัญ • สาระสำคัญ อาจกำหนดโดยจากลักษณะของการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง เพราะบางรายการอาจมีสาระสำคัญ ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถระบุจำนวนเงินได้ เป็นข้อมูลที่ขัดข้อเท็จจริงเชิงคุณภาพ เช่น การเปิดเผยนโยบายบัญชีที่ไม่ถูกต้องและไม่เพียงพอ • ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงมีจำนวนเงินน้อย • แต่เมื่อรวมหลายรายการแล้ว อาจมีสาระสำคัญ สวียา ปรารถนาดี

  11. ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานสอบบัญชีความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานสอบบัญชี ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานตามวิชาชีพ ความเสี่ยงในการให้บริการแก่ลูกค้า ความเสี่ยงในการสอบบัญชี ความเสี่ยง จากการ ควบคุม ความเสี่ยง จากการ ตรวจสอบ ความเสี่ยง สืบเนื่อง สวียา ปรารถนาดี

  12. Inherent Riskความเสี่ยงสืบเนื่อง • อาจเกิดข้อผิดพลาดที่สำคัญในงบ (ไม่คำนึงถึงระบบควบคุม) • Control Riskความเสี่ยงจากการควบคุม • ระบบควบคุมภายในอาจไม่สามารถป้องกัน/พบข้อผิดพลาดนั้นๆ • Detective Riskความเสี่ยงจากการตรวจสอบ • ผู้สอบบัญชีอาจตรวจไม่พบข้อผิดพลาดนั้นๆ IR AUDIT RISKผู้สอบบัญชีออกความเห็นผิด CR DR เช่น ...แสดงความเห็นโดยไม่มีเงื่อนไขเกี่ยวกับงบการเงินที่ผิดพลาดอย่างร้ายแรง สวียา ปรารถนาดี

  13. Accounting System มีความเสี่ยงที่อาจเกิดข้อผิด พลาดที่สำคัญในงบการเงิน IR มีความเสี่ยงที่ระบบควบคุม อาจไม่สามารถป้องกัน/ ค้นพบข้อผิดพลาดได้ Internal Control CR Audit Procedure มีความเสี่ยงที่ผู้สอบบัญชีอาจ ตรวจไม่พบข้อผิดพลาดนั้น DR Financial Statement AUDIT RISK ออกความเห็นผิด !!! รวมถึงความเสี่ยงจากการเลือกตัวอย่างSampling Risk สวียา ปรารถนาดี

  14. แบบจำลองความเสี่ยงในการสอบบัญชีแบบจำลองความเสี่ยงในการสอบบัญชี AAR = IR x CR x PDR PDR = AAR IR x CR ความหมาย สวียา ปรารถนาดี

  15. PDR =AAR IR x CR For Example PDR = 5 % 50% x 40% = 0.05 0.5 x 0.4 = 0.25 =25% PDR = 5 % 100% x 100% = 0.05 1 x 1 = 0.05 = 5% • CPAยอมให้ความเสี่ยงจากการตรวจสอบที่วางแผนไว้ (PDR) เกิดขึ้นน้อยลงกว่าเดิม นั่นคือ ต้องรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีให้มากขึ้น เพื่อที่จะให้ความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้ (AAR) อยู่ในระดับเดิม สวียา ปรารถนาดี

  16. ความสัมพันธ์ของความเสี่ยงกับหลักฐานการลงบัญชีความสัมพันธ์ของความเสี่ยงกับหลักฐานการลงบัญชี สวียา ปรารถนาดี

  17. โอกาสเกิดข้อผิดพลาดที่มีสาระสำคัญโอกาสเกิดข้อผิดพลาดที่มีสาระสำคัญ • การพิจารณาความเสี่ยงในระดับ • บริษัท • หน่วยงาน / แผนก / ส่วนงานในบริษัท • รายการแต่ละรายการในงบการเงิน สวียา ปรารถนาดี

  18. หลักการเลือกให้ได้ตัวอย่างที่ดีหลักการเลือกให้ได้ตัวอย่างที่ดี Throughtout the year Haphazard เลือกอย่างมีระบบ Random Table สวียา ปรารถนาดี

  19. การสอบทานขั้นตอนการสอบบัญชีการสอบทานขั้นตอนการสอบบัญชี • ศึกษาทำความเข้าใจธุรกิจ/อุตสาหกรรมนั้นๆ เพื่อประเมิน IR • ศึกษาและประเมินการควบคุมภายใน เพื่อประเมิน CR • พิจารณา • รายการค้า • เอกสารที่เกี่ยวข้อง • แผนผังการควบคุม • การควบคุมภายในที่สำคัญ • วิธีการทดสอบการควบคุม • วิเคราะห์ DR = AR/ (IR x CR) • วางแนวการตรวจสอบสาระสำคัญ (ST) สวียา ปรารถนาดี

  20. ข้อพิจารณาทั่วไป-การทดสอบสาระสำคัญข้อพิจารณาทั่วไป-การทดสอบสาระสำคัญ • เวลาทดสอบ • ส่วนใหญ่ กระทำ ณ วันสิ้นงวด • อาจกระทำระหว่างงวดก็ได้ (Interim) • ต้นทุนและผลประโยชน์ • วิธีวิเคราะห์เปรียบเทียบ • เป็นเครื่องชี้จุดที่ควรสนเป็นพิเศษ เน้นหนักในทิศทางของการทดสอบสาระสำคัญ • รูปแบบของแนวการสอบบัญชี สวียา ปรารถนาดี

  21. วิธีการตรวจสอบ กระดาษ ทำการอ้างอิง ปัญหา ที่ตรวจพบ ตรวจสอบ โดย/วันที่ 1 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงและตรวจสอบรายการผิดปกติระหว่างงวดบัญชีปัจจุบันกับงวดก่อนของรายการต่อไปนี้ 1.1สินค้าคงเหลือตามประเภท 1.2อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ 1.3อัตรากำไรขั้นต้น 1.4สินค้าเสื่อมสภาพหรือล้าสมัย แนวการสอบบัญชี ( Audit Program) ชื่อลูกค้า งวดบัญชี กระดาษทำการแนวการสอบบัญชีสินค้าคงเหลือ วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบว่า 1)สินค้าคงเหลือณวันสิ้นงวดมีอยู่จริงแสดงไว้ตามปริมาณและมูลค่าที่ถูกต้องและเป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ 2)มูลค่าของสินค้าคงเหลือแสดงตามราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่าและกิจการได้ตั้งค่าเผื่อการลดราคาสำหรับสินค้าคงเหลือเก่าชำรุดล้าสมัยเคลื่อนไหวช้า 3)การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป วิธีการตรวจสอบบัญชีสินค้าคงเหลือ สวียา ปรารถนาดี

More Related