1 / 39

การส่งเสริมการปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และการตลาดโครงการหลวง

การส่งเสริมการปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และการตลาดโครงการหลวง. นายสุทัศน์ ปลื้มปัญญา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. ประเด็นนำเสนอ. โครงการหลวง. การวิจัยและพัฒนาพืชผัก. การวิจัยและพัฒนาไม้ผล. การวิจัยและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับ. การอารักขาพืช.

caleb-bauer
Download Presentation

การส่งเสริมการปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และการตลาดโครงการหลวง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมการปลูกพืชผัก ผลไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และการตลาดโครงการหลวง นายสุทัศน์ ปลื้มปัญญา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง

  2. ประเด็นนำเสนอ • โครงการหลวง • การวิจัยและพัฒนาพืชผัก • การวิจัยและพัฒนาไม้ผล • การวิจัยและพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับ • การอารักขาพืช • การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด

  3. เริ่มต้นโครงการหลวง • 40 ปีก่อน - บนดอยมีชาวเขาที่ยากจน ดำรงชีวิตด้วยการทำไร่เลื่อนลอย - พื้นที่ทำไร่เลื่อนลอยในเชียงใหม่ เชียงราย และน่าน 11,560 ตร.ม. - พ.ศ. 2509 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกฝิ่น 112,000 ไร่ - พ.ศ. 2502 รัฐบาลออกกฎหมายห้ามสูบฝิ่น

  4. เริ่มต้นโครงการหลวง พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมหมู่บ้านแม้วดอยปุย ทรงทราบว่าชาวเขามีรายได้จากการปลูกท้อพื้นเมืองพอๆ กับการปลูกฝิ่น - พระราชทานเงิน 200,000 บาท ให้มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ - โปรดเกล้าฯ ตั้ง “โครงการพระบรมราชานุเคราะห์ชาวเขา” และแต่งตั้งหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีเป็นผู้อำนวยการโครงการ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “โครงการหลวงพัฒนาชาวเขา” “โครงการหลวงภาคเหนือ” และ “โครงการหลวง” - พ.ศ. 2535 โปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น “มูลนิธิโครงการหลวง

  5. กระแสพระราชดำรัสพระราชทานพ.ศ. 2517 ทำไมจึงพัฒนาชาวเขา “เรื่องที่จะช่วยชาวเขาและโครงการชาวเขานั้นมีประโยชน์โดยตรงกับชาวเขาเพื่อจะส่งเสริม และสนับสนุนให้ชาวเขามีความเป็นอยู่ดีขึ้นสามารถที่จะเพาะปลูกสิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นรายได้กับเขาเอง ที่มีโครงการนี้จุดประสงค์อย่างหนึ่งก็คือมนุษยธรรมหมายถึงให้ผู้ที่อยู่ในถิ่นทุรกันดารสามารถที่จะมีความรู้และพยุงตัวมีความเจริญได้อีกอย่างหนึ่งก็เป็นเรื่องช่วยในทางที่ทุกคนเห็นว่าควรจะช่วย เพราะเป็นปัญหาใหญ่คือปัญหาเรื่องยาเสพติดถ้าสามารถช่วยชาวเขาปลูกพืชที่เป็นประโยชน์บ้างเขาจะเลิกปลูกยาเสพติดคือฝิ่นทำให้นโยบายการระงับการปราบปรามการสูบฝิ่นและการค้าฝิ่นได้ผลดีอันนี้ก็เป็นผลอย่างหนึ่ง ผลอีกอย่างหนึ่งซึ่งสำคัญมากก็คือ ชาวเขาตามที่รู้เป็นผู้ทำการเพาะปลูกโดยวิธีที่จะทำให้บ้านเมืองของเราไปสู่หายนะได้โดยที่ถางป่าและปลูกโดยวิธีที่ไม่ถูกต้องถ้าพวกเราทุกคนไปช่วยเขาก็เท่ากับช่วยบ้านเมืองให้มีความดีความอยู่ดีกินดีและปลอดภัยได้อีกทั่วประเทศเพราะถ้าสามารถทำโครงการนี้ได้สำเร็จให้ชาวเขาอยู่เป็นหลักเป็นแหล่งสามารถที่จะมีความอยู่ดีกินดีพอสมควรและสนับสนุนนโยบายที่จะรักษาป่าไม้รักษาดินให้เป็นประโยชน์ต่อไปประโยชน์อันนี้จะยั่งยืนมาก”

  6. 1. ช่วยเหลือราษฎรชาวไทยภูเขาให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2.ลดการปลูกพืชเสพติด 3.การฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าต้นน้ำลำธาร วัตถุประสงค์

  7. พื้นที่ดำเนินงาน • สถานีวิจัย 4 แห่ง • ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 38 แห่ง พื้นที่ดำเนินงาน 369 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้าน เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน และพะเยา ในพื้นที่จังหวัด 31,810 ครัวเรือน รวม 150,248 คน จำนวนประชากร

  8. แผนที่แสดงที่ตั้งหมู่บ้านชาวเขาบนพื้นที่สูงแผนที่แสดงที่ตั้งหมู่บ้านชาวเขาบนพื้นที่สูง ประชากร 1,203,149 คน 226,696 ครัวเรือน 3,881 กลุ่มบ้าน 20 จังหวัด

  9. กิจกรรมหลักของมูลนิธิโครงการหลวงกิจกรรมหลักของมูลนิธิโครงการหลวง เพื่อหาชนิด พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ วิธีการปฏิบัติ การรักษาการจัดการหลังเก็บเกี่ยว และการแปรรูป ตลอดจนสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม งานวิจัย ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเขาและการฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธาร งานพัฒนา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต การขนส่ง และการจำหน่ายผลผลิตของเกษตรกร งานตลาด

  10. การปลูกผัก ผลไม้ และดอกไม้โครงการหลวง • เกษตรกรใช้บริโภค และสร้างรายได้แก่ครัวเรือน • เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชหลายชนิดตามความเหมาะสมต่อ สภาพภูมิสังคม • การปลูกภายใต้ระบบการอนุรักษ์ดินและน้ำ • - แปลงหญ้าแฝก • - ขั้นบันได แนวคันดินรับน้ำขอบเขา

  11. การวิจัย มาตรฐานอาหารปลอดภัย การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการวางแผนการผลิต ความสัมพันธ์ของ การวิจัย พัฒนา และการตลาด โครงการหลวง • ความต้องการของตลาด • ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา • * คุณภาพผลผลิต • * การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว • การประชุมกลุ่มประจำเดือน • การเยี่ยมเยียน • การฝึกอบรม • แผนการวางแผนการผลิตและการตลาด • การติดตามและรายงานผลผลิตก่อนเก็บเกี่ยว

  12. การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก พืชผักเขตหนาว ฤดูปลูกปี 2524 โครงการหลวงได้เริ่มส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชผักเมืองหนาวที่โครงการหลวงแม่แฮ ต่อมาโครงการหลวงทุ่งหลวงก็เริ่มปลูกในฤดูถัดมาของปีเดียวกัน ผลผลิตและการจำหน่ายผัก ระหว่างฤดูปลูก ปี 2524-2529

  13. การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก • ศึกษาชนิดและพันธุ์พืชผักที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมบนพื้นที่สูง และตามความต้องการของตลาด • พัฒนาเทคโนโลยีใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • ลดต้นทุน • แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแก่เกษตรกร • ปัจจุบันมีพืชผักส่งเสริมให้แก่เกษตรกรปลูก 68 ชนิด • อยู่ในระหว่างงานวิจัยและพัฒนา 61 ชนิด

  14. การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก การวิจัยและพัฒนาโรงเรือนและระบบการปลูกผักในโรงเรือน

  15. การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก Technology Transfer • ปัจจุบันเกษตรกรในโครงการหลวง ร้อยละ 70 ปลูกพืชผักในโรงเรือน 2,000 โรงเรือน • โรงเรือนต้นทุนต่ำ • ระบบการปลูกผักในโรงเรือนของพืชผักแต่ละชนิด

  16. การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก Good Agricultural Practice (GAP)

  17. ระบบการปลูกพืชผัก Good Agricultural Practice (GAP) 2001 -พัฒนาระบบการปลูกพืชผักให้เข้าสู่มาตรฐาน GAP 2002 - 34 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงได้รับการรับรองแหล่งผลิตตามมาตรฐาน GAP จา กกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2553 - 38 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงได้รับการรับรองแหล่งผลิตตามมาตรฐาน GAP จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  18. แบบบันทึกเกษตรกร เกษตรกรต้องบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงานทุกครั้ง Company Logo

  19. การตรวจประเมินของทีมผู้ตรวจประเมินภายในการตรวจประเมินของทีมผู้ตรวจประเมินภายใน สัมภาษณ์เกษตรกร ตรวจสอบแปลงปลูก แจ้งผลการตรวจประเมิน เกษตรกรยอมรับผลการตรวจประเมิน

  20. ระบบการปลูกพืชผัก การตรวจรับรองโดยกรมวิชาการเกษตร กรมวิชาการเกษตรเข้าตรวจสอบระบบการผลิตทุกปี

  21. ระบบการปลูกพืชผัก Global GAP Standard 2005 -ทีมวิจัยพืชผักได้เริ่มวิจัยการผลิตผักภายใต้มาตรฐาน Eurep GAP ใน 7 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 2007 - มาตรฐาน Eurep GAP เปลี่ยนเป็น Global GAP และเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกเป็น 9 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 2010 - 18 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสามารถปลูกผักภายใต้ มาตรฐาน Global GAP

  22. ระบบการปลูกพืชผัก ทีมผู้ตรวจรับรองระบบ Global GAP จากบริษัท BVQI ตรวจสอบสถานที่เก็บสารเคมีทางการเกษตรของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ผู้ตรวจรับรองระบบ Global GAP สอบถามการปฏิบัติในการเพาะกล้าผักกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมผัก

  23. ระบบการปลูกพืชผัก การปลูกผักอินทรีย์ 2003 -ผลผลิตผักอินทรีย์การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2010 - อยู่ระหว่างการขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากสำนักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

  24. ระบบการตรวจทวนย้อนกลับระบบการตรวจทวนย้อนกลับ • ระบบ GAP ตรวจสอบได้ถึงศูนย์พัฒนาโครงการหลววง • ระบบ Global GAP ตรวจสอบถึงแปลงเกษตรกร • - อยู่ระหว่างปรับปรุงเทคโนโลยีการทวนสอบย้อนกลับ โดยการใช้แถบแม่เหล็ก (barcode) ระบบ RFID

  25. การวิจัยและพัฒนาพืชผักการวิจัยและพัฒนาพืชผัก

  26. การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ • เพื่อการบริโภคและสร้างรายได้แก่ครัวเรือน • เพื่อปกคลุมดินในพื้นที่ลาดชัน ลดการชะล้างของผิวหน้าดิน • เพื่อเกษตรมีอาชีพถาวรเป็นหลักแหล่งไม่โยกย้ายถิ่นฐาน

  27. การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ • ไม้ผลเขตหนาว : บ๊วย พี้ช พลัม สาลี่ พลับ และกีวีฟรุ้ท • ไม้ผลขนาดเล็ก: สตอเบอรี่ องุ่น มะเดื่อมัลเบอรี่ เคพกูสเบอรี่และเสาวรสหวาน • ไม้ผลเขตร้อน: อโวกาโดผลไม้ตระกูลส้ม มะละกอ และมะม่วง

  28. การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่เกษตรกร • สนับสนุนพันธุ์พืช : - พันธุ์ดี - มีคุณภาพสูง • การให้การอบรมและการสาธิต - การเยี่ยมเยียนเกษตรกร - การจัดทำแปลงสาธิตและสวนตัวอย่าง

  29. การวิจัยและพัฒนาผลไม้การวิจัยและพัฒนาผลไม้ หมายเหตุเกษตรกรปลูกอโวกาโดได้รับการรับรองการปลูกในระบบอินทรีย์

  30. การวิจัยและพัฒนาไม้ดอกและไม้ประดับการวิจัยและพัฒนาไม้ดอกและไม้ประดับ • ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงที่ส่งเสริมการผลิต 18 ศูนย์ • จำนวนพืช 70 ชนิด (ไม้ตัดดอก 43 ชนิด และไม้ตัดใบ 27 ชนิด) • พื้นที่ดำเนินงาน 258 ไร่ • เกษตรกร 548 ราย รายได้จากการส่งเสริมและพัฒนาไม้ดอก(1 ม.ค.– 25 ธ.ค. 2552) ไม้ตัดดอก 16,108,782.20 บาท ไม้ตัดใบ 1,851,674.50 บาท รวม 17,960,456.67 บาท

  31. รายได้งานพัฒนาและส่งเสริมไม้ดอกปี 2540 - 2552 ล้านบาท

  32. การอารักขาพืช เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตให้ได้มาตรฐานสากล • การประชุมประจำเดือน • การถ่ายทอดความรู้โดยผ่านการอบรม • การจัดทำคู่มือการจัดการศัตรูพืช แบบผสมผสาน • หมอพืช 38 คน • ห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารพิษ 34 แห่ง

  33. การอารักขาพืช การจัดการแมลงศัตรูพืช การควบคุมโดยชีววิธี (Biological Control- GAP, Global GAP, Organic) • การใช้สารชีวภัณฑ์ที่ผลิตเป็นการค้า • การใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่ผลิตขึ้นเอง เช่น เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เป็นต้น • การใช้แมลงตัวห้ำ และตัวเบียน

  34. การอารักขาพืช การควบคุมโดยใช้สารเคมี (GAP and Global GAP) • จัดทำทะเบียนรายชื่อสารเคมีที่มูลนิธิโครงการหลวงอนุญาตให้ใช้ • ควบคุมการใช้สารเคมี และการเบิกจ่ายสารเคมีให้แก่เกษตรกรและศูนย์พัฒนาโครงการหลวง • รวบภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้แล้วเพื่อนำมาทำลายทิ้งอย่างถูกต้องและเหมาะสม

  35. การอารักขาพืช การวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิต • สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตจากแปลงเกษตรกรก่อนเก็บเกี่ยว 1-2 วัน มาวิเคราะห์หาสารพิษตกค้างด้วย GT-test kit • สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตจากโรงคัดบรรจุของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง มาวิเคราะห์หาสารพิษตกค้างด้วย GT-test kit • สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตจากโรงคัดบรรจุเชียงใหม่ มาวิเคราะห์หาสารพิษตกค้างด้วยเครื่อง GC, GC-MS, HPLC

  36. ผลผลิต ของเกษตรกร • - ได้รับมาตรฐาน GAP • - พืชผักและสมุนไพร 149 ชนิด เกษตรกร 3,897 ราย • ผักอินทรีย์ 43 ชนิด เกษตรกร 537 ราย • - ไม้ผล 13 ชนิด เกษตรกร 1,800 ราย อาคารคัดบรรจุ/ระบบเย็นเร็วศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 6 แห่ง - มาตรฐาน GMP อาคารคัดบรรจุ เชียงใหม่ - มาตรฐาน GMP - มาตรฐาน HACCP โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ • - มาตรฐาน GMP • - มาตรฐาน HACCP อาหารปลอดภัย อาคารผลิตผล กรุงเทพฯ • มาตรฐาน(GMP) ระบบมาตรฐานคุณภาพผลผลิต ตลาด ตลาด

  37. ข้อมูลด้านการตลาดผลผลิตของเกษตรกรข้อมูลด้านการตลาดผลผลิตของเกษตรกร

  38. กลุ่มลูกค้าพืชผัก มูลนิธิโครงการหลวง GLOBAL G.A.P • รังสิตฟาร์ม - Supper Market • ร้านอาหาร - ไต้หวัน • ร้านโครงการหลวง • Blue Elephant Organic GAP LEVEL ร้านค้าโครงการหลวง

More Related