1 / 44

สถานการณ์น้ำ

สัมมนา. การจัดทำโครงการจัดระบบการปลูกข้าว. สถานการณ์น้ำ. นายวีระ วงศ์แสงนาค รองอธิบดีกรมชลประทาน. นายสุพัตร วัฒยุ ผู้อำนวยการสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ. วันพุธที่ 11 สิงหาคม 2553. หอประชุมชูชาติ กำภู กรมชลประทานปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ. นนทบุรี. ผลการบริหารจัดการน้ำฤดูแล้ง

cade-newman
Download Presentation

สถานการณ์น้ำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัมมนา การจัดทำโครงการจัดระบบการปลูกข้าว สถานการณ์น้ำ นายวีระ วงศ์แสงนาค รองอธิบดีกรมชลประทาน นายสุพัตร วัฒยุ ผู้อำนวยการสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ วันพุธที่ 11 สิงหาคม 2553 หอประชุมชูชาติ กำภู กรมชลประทานปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ. นนทบุรี

  2. ผลการบริหารจัดการน้ำฤดูแล้งผลการบริหารจัดการน้ำฤดูแล้ง ปี 52/53

  3. 22,417 - 1,743 + + หมายเหตุ - คือ น้ำต้นทุน ปี 52/53 น้อยกว่า ปี 51/52 + คือ น้ำต้นทุน ปี 52/53 มากกว่า ปี 51/52

  4. ทั้งประเทศ อุปโภค-บริโภค 1,836 ล้าน ลบ.ม. (9%) 20,720 ล้าน ลบ.ม. การอุตสาหกรรม 169 ล้าน ลบ.ม. (1%) (9%) รักษาระบบนิเวศน์และอื่นๆ 5,539 ล้าน ลบ.ม. (27%) (1%) (27%) การเกษตร 13,176 ล้าน ลบ.ม. (63%) ผลการจัดสรรน้ำ 22,417 ล้าน ลบ.ม.

  5. 10,339 - 1,550 - 249 + หมายเหตุ - คือ น้ำต้นทุน ปี 52/53 น้อยกว่า ปี 51/52 + คือ น้ำต้นทุน ปี 52/53 มากกว่า ปี 51/52 จัดสรร

  6. ลุ่มเจ้าพระยา 8,000 ล้าน ลบ.ม. (14%) (26%) (60%) ผลการจัดสรรน้ำ 10,399 ล้าน ลบ.ม.

  7. แผนและผลการปลูกพืชฤดูแล้งทั้งประเทศ ปี 2552/2553 (ล้านไร่) ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553 แผนการจัดสรรน้ำ 20,720 ล้าน ลบ.ม. ผลการจัดสรรน้ำ 22,417 ล้าน ลบ.ม. (162 %) (178 %) ผลการปลูกข้าวนาปรัง (146 %) (298%) (106 %) (116%) (81 %)

  8. + หมายเหตุ - คือ ผลการจัดสรรน้ำ น้อยกว่า แผนการจัดสรรน้ำ + คือ ผลการจัดสรรน้ำ มากกว่า แผนการจัดสรรน้ำ

  9. แผนและผลการปลูกพืชฤดูแล้งในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2552/2553 (ล้านไร่) ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553 แผนการจัดสรรน้ำ 8,000 ล้าน ลบ.ม. ผลการจัดสรรน้ำ 10,339 ล้าน ลบ.ม. (161 %) (166 %) ผลการปลูกข้าวนาปรัง (159%) (184 %) (98%) (100%) (88 %)

  10. ล้าน ลบ.ม. + + + + หมายเหตุ - คือ ผลการจัดสรรน้ำ น้อยกว่า แผนการจัดสรรน้ำ + คือ ผลการจัดสรรน้ำ มากกว่า แผนการจัดสรรน้ำ

  11. สถานการณ์น้ำในปัจจุบันสถานการณ์น้ำในปัจจุบัน

  12. อ่างขนาดใหญ่ทั่วประเทศ 33 อ่าง ห้วยหลวง 30 ปราณบุรี 27 วันที่ 10 สิงหาคม 2553 แม่งัด 32 กิ่วคอหมา แม่กวง 23 รัชชประภา 11 61 กิ่วลม 70 สิริกิติ์ 42 น้ำอูน น้ำพุง ภูมิพล 26 28 31 43 แควน้อย อุบลรัตน์ 33 24 ลำปาว แม่น้ำโขง บางลาง จุฬาภรณ์ 44 43 ทับเสลา 21 สิรินธร ป่าสัก กระเสียว ลำแซะ ลำตะคอง ลำพระเพลิง 48 มูลบน วชิราลงกรณ์ 10 41 46 36 72 29 42 ขุนด่านฯ ลำนางรอง 25 29 45 ศรีนครินทร์ เกณฑ์ปริมาณน้ำฤดูฝน คลองสียัด 34 > 80% เกณฑ์น้ำดีมาก - แห่ง ประแสร์ หนองปลาไหล 63 80 51 - 80% เกณฑ์น้ำดี 5 แห่ง แก่งกระจาน 28 บางพระ 38 31 - 50% เกณฑ์น้ำพอใช้ 15 แห่ง ≤30% เกณฑ์น้ำน้อย 13 แห่ง หมายเหตุ: เขื่อนแควน้อยเริ่มเก็บกักน้ำปลายฤดูฝนปี 52

  13. ช่วงความจุอ่าง - % 0-30 30-50 50-80 80-100 ข้อมูล : วันที่ 10 สิงหาคม 2553 ช่วงความจุอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง ปริมาตรน้ำรวม 1,777 ล้าน ลบ.ม. (45%)

  14. สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางสภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง ข้อมูล ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2553

  15. กราฟเปรียบเทียบปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั้งประเทศ ปี 2553 กับปี 2552 ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2553 อ่างฯขนาดใหญ่ปี 53 อ่างฯขนาดใหญ่ปี 52 อ่างฯขนาดกลางปี 53 อ่างฯขนาดกลางปี 52 46,842 34,681 23,001 21,652 16,515 ล้าน ลบ.ม. 12,130 10,840 8,872 6,878 4,573 4,761 3,526 919 950 472 277 0

  16. ผลกระทบด้านการบริหารจัดการน้ำผลกระทบด้านการบริหารจัดการน้ำ

  17. ณ 1 พ.ย. 52 ปริมาณน้ำทั้งหมด 15,370 MCM น้ำต้นทุนของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ Annual Inflow 11,200 MCM คงเหลือน้ำ ใช้ในฤดูแล้ง 6,900 MCM +ป่าสัก 500 +แควน้อย 500 +แม่กลอง 1,000 - ประปา/นิเวศน์ 2,000 ข้าวนาปรัง 6.0 ล้านไร่(max) ความจุทั้งหมด 22,972 MCM ความจุใช้การได้ 16,322 MCM ใช้ใน ฤดู ฝน 4,300 MCM + Dead Storage 6,650 MCM

  18. แผน-ผลการเพาะปลูกพืชในฤดูแล้งของลุ่มน้ำเจ้าพระยาแผน-ผลการเพาะปลูกพืชในฤดูแล้งของลุ่มน้ำเจ้าพระยา

  19. แผน-ผลการระบายน้ำในฤดูแล้งของลุ่มน้ำเจ้าพระยาแผน-ผลการระบายน้ำในฤดูแล้งของลุ่มน้ำเจ้าพระยา

  20. ปริมาณน้ำต้นทุนของลุ่มน้ำเจ้าพระยาปริมาณน้ำต้นทุนของลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปริมาณน้ำที่ รนก. = 22,972 ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับต่ำสุด 6,650 ล้าน ลบ.ม. ณ วันที่ 10 ส.ค. 53 = 8,136 ล้าน ลบ.ม.

  21. 3.1 การคาดการณ์สภาพอากาศในระยะต่อไป

  22. สถานการณ์ปัจจุบันและปรากฏการณ์ลานีญา พ.ศ. 2553

  23. The NCEP seasonal forecast outlooks :NOAA The UK’s National Weather Service

  24. การคาดการณ์ฝนล่วงหน้าของกรมอุตุนิยมวิทยาการคาดการณ์ฝนล่วงหน้าของกรมอุตุนิยมวิทยา ผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย จากการที่อุณหภูมิผิวน้ำทะเลบริเวณตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิกมีค่าต่ำกว่าปกติและมีแนวโน้มที่จะเป็นปรากฏการณ์ลานีญา ซึ่งจะส่งผลให้ในระยะครึ่งหลังของฤดูฝน ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2553 คาดว่าประเทศไทยจะมีปริมาณฝนมากกว่าปกติ

  25. การคาดการณ์ฝนล่วงหน้าการคาดการณ์ฝนล่วงหน้า ของหน่วยงานด้านอุตุนิยมวิทยา อื่น ๆ Website ของหน่วยงานด้านอุตุนิยมวิทยา อื่น ๆในหลายประเทศ คาดการณ์สอดคล้องกับกรมอุตุนิยมวิทยาจะมีแนวโน้มที่จะเป็นปรากฏการณ์ลานีญา ซึ่งจะส่งผลให้ในระยะครึ่งหลังของฤดูฝน ช่วงเดือนสิงหาคม 2553 เป็นต้นไป คาดว่าประเทศไทยจะมีปริมาณฝนมากกว่าปกติ

  26. คาดการณ์ปริมาณน้ำแยกเป็น 2 กรณี • ใช้ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเฉลี่ย • คำนวณปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเพิ่มกรณีที่มีฝนตกเพิ่มตามปรากฏการณ์ลานีญาในแต่ละเดือนตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึงเดือนธันวาคม (เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ) 3.3.1 การคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำ ในลุ่มน้ำเจ้าพระยาใหญ่(ถึงสิ้นเดือนธันวาคม 2553)

  27. คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  28. กรณี : ปี 2553 เกิดปรากฎการณ์ LANINA คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  29. คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  30. กรณี : ปี 2553 เกิดปรากฎการณ์ LANINA คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  31. คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  32. กรณี : ปี 2553 เกิดปรากฎการณ์ LANINA คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  33. คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  34. กรณี : ปี 2553 เกิดปรากฎการณ์ LANINA คำนวณ ณ วันที่ 25 กค 2553

  35. สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาในช่วงฤดูแล้ง ปี 2553/2554 • คาดการณ์ปริมาณน้ำในเขื่อน ณ 1 พ.ย.53

  36. สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยาในช่วงฤดูแล้ง ปี 2553/2554 • น้ำใช้เพื่ออุปโภคบริโภค และรักษาระบบนิเวศน์ใช้ประมาณ 2,000 ล้าน ลบ.ม.ใช้จากเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และผันน้ำจากแม่กลอง • เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ คาดว่าจะมีน้ำเต็มทั้ง 2 แห่ง • คาดการณ์น้ำปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์รวมกัน ณ 1 พ.ย.2553 • กรณีมีน้ำไหลลงอ่างฯเฉลี่ย จะมีปริมาณน้ำทั้งหมด 13,056 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นน้ำใช้การ 6,406 ล้าน ลบ.ม. • กรณีฝนตกมากกว่าค่าปกติ จะมีปริมาณน้ำทั้งหมด 14,107 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นน้ำใช้การ 7,457 ล้าน ลบ.ม. • น้ำใช้สำหรับการเกษตรใช้จากเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ คาดการณ์ ณ 1 พ.ย.2553มีปริมาณน้ำใช้การได้รวมกันประมาณ 6,400 -7,400 ล้านลบ.ม. • เก็บน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูฝน 1 ฤดู 4,300 ล้าน ลบ.ม. • คงเหลือน้ำจัดสรรสำหรับการเกษตรประมาณ 2,100 – 3,100 ล้านลบ.ม.

  37. การประเมินผลการบริหารจัดการน้ำฤดูแล้ง ปี 2552/2553 • การใช้น้ำเพื่อการปลูกข้าวนาปีในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา ที่มีการเพาะปลูกในปีปกติ พื้นที่ปลูกข้าวนาปี ประมาณ 7.76 ล้านไร่ จะใช้น้ำประมาณเดือนละ 1,000 ล้านลูกบาศก์เมตร • การจัดสรรน้ำเพื่อการเพาะปลูกในช่วงฤดูฝนโดยปกติจะใช้น้ำจากปริมาณน้ำตามธรรมชาติท้ายเขื่อน (Side flow) รวมกับปริมาณน้ำที่ระบายจากเขื่อนทั้งสองแห่ง ในปีใดที่มีปริมาณน้ำตามธรรมชาติท้ายเขื่อน (Side flow) มากเพียงพอ ก็ไม่จำเป็นต้องใช้น้ำจากเขื่อน หรือระบายน้อยที่สุด และถ้าปีใดมีปริมาณน้ำตามธรรมชาติท้ายเขื่อน (Side flow) น้อย ก็จำเป็นต้องระบายน้ำจากเขื่อนลงมามาก • กรมอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์ปริมาณฝน ในช่วงวันที่ 29 ก.ค. -1 ส.ค. มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังอ่อนลง ทำให้ประเทศไทยมีฝนกระจาย และในช่วงวันที่ 2-3 ส.ค. มรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังแรงขึ้น และมีร่องมรสุมจะพาดผ่านภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตอน.ทำให้ทั่วประเทศมีฝนตกชุกหนาแน่นและมีฝนตกหนักในบางพื้นที่

  38. การประเมินผลการบริหารจัดการน้ำฤดูแล้ง ปี 2552/2553 • เนื่องจากปริมาณฝนที่ตกในช่วงที่ผ่านมามีไม่มาก ปริมาณน้ำท่าในลำน้ำปิง วัง ยม น่าน และแม่น้ำเจ้าพระยาที่นครสวรรค์ ยังอยู่ในเกณฑ์น้อยมาก • ปัจจุบันปริมาณน้ำในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์มีปริมาณน้ำใช้การได้รวมกันเพียง 881 ล้าน ลบ.ม.เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์มีน้ำใช้การได้ 67 ล้าน ลบ.ม. และเขื่อนแควน้อยบำรุงแดนมีน้ำใช้การได้ 147 ล้าน ลบ.ม. ซึ่งถือว่ายังมีน้ำน้อยมาก และปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนยังมีน้อยและมีแนวโน้มลดลง+ • การปลูกข้าวนาปีในเขตลุ่มเจ้าพระยาใหญ่ควรต้องเลื่อนออกไปจนกว่าจะมีฝนตกเพิ่มและมีปริมาณน้ำท่าเพิ่มสูงขึ้นมากกว่านี้(ที่สถานี C2 ควรมีน้ำคงที่สม่ำเสมออย่างน้อย 400ลบ.ม./วินาที)

  39. ความจุที่ระดับเก็กกัก 22,972 ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับต่ำสุด 6,650 ล้าน ลบ.ม.

  40. จบการนำเสนอ

More Related