1 / 75

รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึง สภาพลักษณะของการ เรียนการสอนที่ครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งได้รับ

รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึง สภาพลักษณะของการ เรียนการสอนที่ครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งได้รับ การจัดไ ว้ อย่างเป็นระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อต่าง ๆ. องค์ประกอบที่สำคัญของการเรียนรู้. 1 . มีปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อที่

burton
Download Presentation

รูปแบบการเรียนรู้ หมายถึง สภาพลักษณะของการ เรียนการสอนที่ครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งได้รับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบการเรียนรู้หมายถึง สภาพลักษณะของการ เรียนการสอนที่ครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งได้รับ การจัดไว้อย่างเป็นระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อต่าง ๆ

  2. องค์ประกอบที่สำคัญของการเรียนรู้องค์ประกอบที่สำคัญของการเรียนรู้ 1. มีปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อที่ เป็นพื้นฐานหรือเป็นหลักของรูปแบบการสอนนั้น ๆ 2.มีการบรรยายและอธิบายสภาพหรือลักษณะของการ จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักการที่ยึดถือ 3. สามารถนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมายของระบบหรือ กระบวนการนั้น ๆ

  3. 4. มีการอธิบายหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีสอนและ เทคนิคการสอนต่าง ๆ อันจะช่วยให้กระบวนการเรียน การสอนนั้น ๆ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 5.มีการจัดระบบคือ มีการจัดองค์ประกอบและ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบให้สามารถนำ ผู้เรียนไปสู่เป้าหมายของระบบหรือกระบวนการนั้น ๆ

  4. การเลือกรูปแบบการเรียนรู้การเลือกรูปแบบการเรียนรู้ การเลือกรูปแบบการเรียนรู้ที่จะนำมาใช้ในการเรียน การสอนควรคำนึงถึง 1. เป็นรูปแบบที่เสนอแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้รับ ความรู้ความเข้าใจต่อบทเรียนเป็นอย่างดี ไม่ต้องใช้ เวลามากนำความรู้ไปใช้ได้ 2. เป็นรูปแบบที่ก่อให้เกิดเจตคติที่ดีถูกต้องกับสภาพ ความต้องการของสังคมและเป็นที่ยอมรับ

  5. เป็นรูปแบบที่ก่อให้เกิดทักษะต่าง ๆ เช่น การ แสวงหาความรู้ การแก้ปัญหา การแสดงออกทางสังคม เป็นต้น • เป็นรูปแบบที่ก่อให้เกิดแนวทางที่จะนำความรู้เจตคติ และทักษะต่าง ๆ ที่ได้ฝึกฝนอย่างดี เอาไปใช้และปฏิบัติ ในชีวิตประจำวันได้

  6. รูปแบบการเรียนรู้/การเรียนการสอนรูปแบบการเรียนรู้/การเรียนการสอน • การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน • การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ • เทคนิคและวิทยาการจัดการเรียนรู้ • เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยใช้กระบวนการคิด • การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ • การสอนแบบบูรณาการ

  7. ตัวอย่างรูปแบบการเรียนรู้/การเรียนการสอนตัวอย่างรูปแบบการเรียนรู้/การเรียนการสอน 1. แบบบรรยาย (Lecture method) 2. แบบอภิปราย (Discussion method) 3. แบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small group discussion) 4. แบบสาธิต (Demonstration method) 5. แบบแสดงบทบาทสมมติ (Role playing) 6. แบบการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศ (Information problem-solving approach: big 6 skill)

  8. 7. แบบการแสดงละคร (Dramatization method) 8. แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation) 9. แบบเกมส์ (Games) 10. แบบเน้นกระบวนการ (Process) 11. แบบกระบวนการกลุ่ม (Group process) 12. แบบร่วมมือ (Cooperative learning) 13. แบบการแข่งขันเกมส์เป็นทีม (Team Games Tournaments: TGT)

  9. 14. แบบใช้คำถาม (Questioning method) 15. แบบเน้นความสามารถผู้เรียนตามศักยภาพ (Student teams achievement divisions) 16. แบบต่อเต็ม (Jigsaw) 17. แบบเทคนิคเรื่องราว (Storyline) 18. แบบมุ่งประสบการณ์ภาษา (Concentrated language encounters) 19. แบบชี้แนะ (Direct instruction) 20. แบบสำรวจคำถามและอ่าน (SQ3R)

  10. 21. แบบอุปนัย (Inductive method) 22. แบบนิรนัย (Deductive method) 23. แบบค้นพบ (Discovery method) 24. แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific method) 25.แบบแก้ปัญหา (Problem solving method) 26. แบบพัฒนาสมองทั้ง 2 ซีก (4 MAT method) 27. แบบการสอนพัฒนาทักษะความคิด (Six steps process of thinking)

  11. 28. แบบการพัฒนาทักษะการคิดแบบหมวก 6 ใบ (Six hats) 29. แบบเอกัตภาพ (Individualized instruction) 30. แบบศูนย์การเรียน (Learning center) 31. บทเรียนโปรแกรม (Programe instruction) 32. แบบโมดูล (Instruction module) 33. แบบใช้ชุดการสอน (Instructional package) 34. แบบรู้ความต้องการเรียนรู้ (Know- Want - Learned: KWL)

  12. 35. แบบกรณีศึกษา (Case study method) 36. แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential learning) 37. แบบสร้างสรรค์ (Creative teaching) 38. แบบระดมสมอง (Brainstorming method) 39. แบบฝึกความคิดสร้างสรรค์ (Synetics method) 40. แบบสร้างสรรค์ความรู้ (Constructivism method) 41. แบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry method) 42. แบบทดลอง (Experimental method)

  13. 43. แบบการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) 44. แบบโครงงาน (Project method) 45. แบบทัศนศึกษา (Field trip) 46. แบบใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและธรรมชาติ (Community and natural learning center) 47. แบบไตรสิกขา 48. แบบสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ 49. แบบการทำค่านิยมให้กระจ่าง

  14. 50. แบบเบญจขันธ์ 51. แบบอริยสัจจ์ 52. แบบกระบวนการสร้างนิสัย 53. แบบพัฒนาจริยธรรม (Moral development) 54. แบบพัฒนาบุคลิกภาพ (Personality development) 55. แบบกระบวนการเผชิญสถานการณ์ 56. แบบการใช้นิทาน (Tale) 57. แบบซักค้าน (Jurisprudential inquiry model) 58. แบบการเรียนรู้ของกาเย่ (Gagne learning)

  15. 59. แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group investigation method) 60. แบบจัดกรอบมโนทัศน์ (Concept mapping technique) 61. แบบใช้ผังความรู้แบบวี (Knowledge Vee diagramming) 62. แบบวรรณี (Wannee teaching model) 63. แบบการพยากรณ์ (Forecast or prediction method) 64. แบบบูรณาการ (Integration)

  16. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน • กลุ่มรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด เช่น การสอนตามหลักการเรียนรู้ของกาเย่ • กลุ่มรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการมีส่วนร่วม เช่น การสอนที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือ • กลุ่มรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาพฤติกรรม และค่านิยม เช่น การแสดงบทบาทสมมติ

  17. การจัดการเรียนการสอนแบบกาเย่การจัดการเรียนการสอนแบบกาเย่ “ควรมีการจัดสภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนรู้แต่ละประเภท ซึ่งมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง โดยจัดสภาพการณ์ภายนอกให้เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ภายในของผู้เรียน”

  18. วัตถุประสงค์ “เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ๆ ได้อย่างดีและรวดเร็ว และสามารถจดจำสิ่งที่เรียนได้ นานขึ้น”

  19. กระบวนการสอนแบบกาเย่ มี 9 ขั้นดังนี้ • กระตุ้นและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน • แจ้งวัตถุประสงค์ของบทเรียนให้ผู้เรียนทราบ • กระตุ้นให้ระลึกถึงความรู้เดิม • นำเสนอสิ่งเร้าหรือเนื้อหาสาระใหม่

  20. 5.การให้แนวการเรียนรู้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น5.การให้แนวการเรียนรู้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น 6. กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความสามารถ 7. การให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อเป็นการเสริมแรง 8. การประเมินผลการแสดงออกของผู้เรียน 9.การให้โอกาสผู้เรียนฝึกฝนและถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่สถานการณ์อื่น ๆ ได้

  21. การสอนที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือการสอนที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือ “ผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่าการแข่งขัน เพราะการแข่งขันก่อให้เกิดสภาพการณ์ของการแพ้-ชนะ ต่างจากการร่วมมือกัน ซึ่งก่อให้เกิดสภาพการณ์ของการ ชนะ-ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ที่ดีกว่าทั้งทางด้านจิตใจ และสติปัญญา”

  22. หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือหลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ มี 5 ประการ ประกอบด้วย • หลักการพึ่งพาอาศัยกัน • อาศัยการหันหน้าเข้าหากัน • อาศัยทักษะในการทำงานร่วมกัน • ร่วมกันวิเคราะห์กระบวนการกลุ่มที่ใช้ในการทำงาน • จะต้องมีผลงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจวัดและประเมินได้

  23. วัตถุประสงค์ “ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาสาระต่าง ๆ ด้วยตนเอง และด้วยความร่วมมือและความช่วยเหลือจากเพื่อน ๆ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะทางสังคมต่าง ๆ เช่น ทักษะ การสื่อสาร ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการ สร้างความสัมพันธ์ รวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการคิดแก้ปัญหาและอื่น ๆ “

  24. กระบวนการเรียนการสอนแบบร่วมมือกระบวนการเรียนการสอนแบบร่วมมือ มีหลายรูปแบบ ได้แก่ 1. การจัดกลุ่มการศึกษาเนื้อหาสาระ 2. การทดสอบ 3. การคิดคะแนน 4. ระบบการให้รางวัลแตกต่างกันออกไป

  25. เพื่อสนองวัตถุประสงค์เฉพาะ แต่ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบใด ต่างก็ใช้หลักการเดียวกัน คือ หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ประการ และมีวัตถุประสงค์มุ่งตรงไปในทิศทางเดียวกัน คือ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่ ศึกษาอย่างมากที่สุดโดยอาศัยการร่วมมือกัน

  26. การสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ “การแสดงบทบาทสมมติเป็นวิธีการที่ช่วยให้บุคคลได้แสดงความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ที่อยู่ภายในออกมา ทำให้สิ่งที่ซ่อนเร้นอยู่เปิดเผยออกมาและนำมาศึกษาทำความเข้าใจกันได้ ช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง เกิดความเข้าใจในตนเองในขณะเดียวกันการที่บุคคลสวมบทบาทของผู้อื่นก็สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในความคิด ค่านิยม และพฤติกรรมของผู้อื่นได้เช่นเดียวกัน”

  27. วัตถุประสงค์ “เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในตนเอง เข้าใจ ในความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้อื่น และเกิดการ ปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของตนให้ เป็นไปในทางที่เหมาะสม”

  28. กระบวนการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติกระบวนการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ มี 9 ขั้น ได้แก่ 1. ผู้สอนนำเสนอสถานการณ์ ปัญหา และบทบาท สมมติที่มีลักษณะใกล้เคียงกับความเป็นจริง และมี ความยากง่ายสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน 2. เลือกผู้แสดงร่วมกัน 3. จัดฉาก

  29. 4. เตรียมผู้สังเกตการณ์ 5. แสดง 6. อภิปรายและประเมินผล 7. แสดงเพิ่มเติม 8. อภิปรายและประเมินผลอีกครั้ง 9. แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสรุปการเรียนรู้

  30. การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

  31. “การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้”“การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้” หมายถึงการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย โดยมีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามสภาพ จริง เน้นการเรียนรู้คู่คุณธรรม มีการใช้สื่อการ สอน และมีการวัดและประเมินผลตามสภาพการ เรียนรู้นั้น”

  32. การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้มีหลายการออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้มีหลาย รูปแบบ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเพียง 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพ 2. การจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน 3. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน 4. การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) 5. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน

  33. การจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพการจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพ “เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยจะจัดให้สอดคล้องกับสติปัญญา ความสามารถ ความสนใจ ความต้องการ และความสะดวกของผู้เรียนแต่ละบุคคลซึ่งผู้เรียนจะได้รับความรู้และประสบการณ์การเรียนรู้จากการศึกษา ค้นคว้า สืบค้นด้วยตนเองทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและความสะดวกของผู้เรียนเองเป็นสำคัญ”

  34. องค์ประกอบสำคัญ • บทเรียน • แบบทดสอบความรู้และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • สื่อการเรียน หรือแหล่งเรียนรู้

  35. ลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพ • กำหนดเวลาเรียนของแต่ละบุคคล • กิจกรรมการเรียนของแต่ละคน • การจัดหน่วยการเรียน • การประเมินผลการเรียนเป็นรายบุคคล

  36. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบเอกัตภาพ • ขั้นเตรียมบทเรียน • ขั้นเตรียมแบบทดสอบ • ขั้นเตรียมสื่อการสอน • ขั้นการเรียนรู้ - ทดสอบก่อนเรียน - เข้าร่วมกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ทดสอบหลังเรียน

  37. การจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียนการจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน “เป็นกระบวนการที่ผู้สอนจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ ด้วยตนเองตามความต้องการ ความสนใจและ ความสามารถจากศูนย์การเรียนที่ผู้สอนได้จัด เตรียมเนื้อหาสาระ กิจกรรมและสื่อการสอน

  38. โดยปกติจะมีหลายศูนย์การเรียน ซึ่งแต่ละศูนย์จะ มีเนื้อหาสาระและกิจกรรมเบ็ดเสร็จในตัวเอง ผู้เรียนจะหมุนเวียนกันเข้าศึกษาหาความรู้จากศูนย์ ต่าง ๆ ตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ภายใต้การดูแล ของอาจารย์ผู้สอน ซึ่งผู้สอนจะเป็นผู้เตรียมศูนย์ การเรียน ให้คำแนะนำ และประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนด้วย”

  39. องค์ประกอบของศูนย์การเรียนองค์ประกอบของศูนย์การเรียน • ชุดการสอน • ศูนย์การเรียน • ผู้เรียน • ผู้สอน

  40. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ • ขั้นเตรียมการ ได้แก่ เตรียมผู้สอน เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เตรียมสถานที่ • ขั้นสอน ได้แก่ สร้างกติกาการเรียนรู้ร่วมกัน ทดสอบก่อนเรียน นำเข้าสู่บทเรียน แบ่งกลุ่มผู้เรียน ดำเนินกิจกรรม • ขั้นสรุปบทเรียน • ขั้นประเมินผล

  41. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอน “เป็นกระบวนการเรียนรู้จากชุดการสอน เป็นสื่อการสอนชนิด หนึ่งที่เป็นลักษณะของสื่อประสม (Multi-media) เป็น การใช้สื่อตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปร่วมกันเพื่อให้ผู้เรียนได้รับ ความรู้ที่ต้องการ อาจจัดไว้เป็นชุดๆ บรรจุในกล่อง ซองหรือ กระเป๋า ชุดการสอนแต่ละชุดประกอบด้วย เนื้อหาสาระ บัตร คำสั่ง/ใบงานในการทำกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ เอกสาร/ใบ ความรู้ เครื่องมืออื่น ๆ ที่จำเป็น รวมทั้งแบบประเมินผลการ เรียนรู้”

  42. องค์ประกอบของชุดการสอนองค์ประกอบของชุดการสอน • คู่มือการใช้ชุดการสอน • บัตรคำสั่งหรือบัตรงาน • เนื้อหาสาระและสื่อการเรียนประเภทต่าง ๆ • แบบประเมินผล

  43. ขั้นตอนในการใช้ชุดการสอนขั้นตอนในการใช้ชุดการสอน • ขั้นทดสอบก่อนเรียนให้ผู้เรียนได้ทดสอบก่อนเรียน • ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน • ขั้นประกอบกิจกรรมการเรียน • ขั้นสรุปบทเรียน • ขั้นประเมินผลการเรียน

  44. การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) “เป็นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนที่อาศัยคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีระดับสูงมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อหรือ เครื่องมือสำหรับการเรียนรู้โดยจัดเนื้อหาสาระหรือ ปราบการณ์สำหรับให้ผู้เรียนได้รับรู้ อาจจัดเป็นลักษณะ บทเรียนก็ได้”

  45. องค์ประกอบ • เนื้อหาสาระหรือบทเรียน • คอมพิวเตอร์พร้อมชุดอุปกรณ์ต่อพ่วง • คู่มือแนะนำขั้นตอนการเรียนรู้ • โปรแกรมคอมพิวเตอร์และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ

  46. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ • ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน • ขั้นการเสนอเนื้อหา • ขั้นคำถามและคำตอบ • ขั้นการตรวจคำตอบ • ขั้นการปิดบทเรียน

  47. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน “เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามความ สนใจ ความถนัดและความสามารถของตนเอง ซึ่งอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์”

  48. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ • การเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา • การวางแผน ประกอบด้วย การกำหนดวัตถุประสงค์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดวิธีการศึกษา การลงมือปฏิบัติ การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน

  49. ส่วนประกอบการเขียนรายงานโครงงานส่วนประกอบการเขียนรายงานโครงงาน • ชื่อโครงงาน • ชื่อผู้ทำโครงงาน/โรงเรียน/วันเดือนปีที่จัดทำ • ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา • บทคัดย่อ • กิตติกรรมประกาศ • ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

More Related