1 / 59

ทิศทางและ ระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ

ทิศทางและ ระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ. พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร สถาบันวิจัย และพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สำนักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ. บริการปฐมภูมิ Primary Care. เป็นศิลปะชั้นสูงของการดูแลรักษาสุขภาพ. กายภาพ จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ. ศาสตร์ ศิลป์ การแพทย์ สังคมวัฒนธรรม.

buffy
Download Presentation

ทิศทางและ ระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางและระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิทิศทางและระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร สถาบันวิจัย และพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สำนักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ

  2. บริการปฐมภูมิ Primary Care เป็นศิลปะชั้นสูงของการดูแลรักษาสุขภาพ กายภาพ จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ศาสตร์ ศิลป์ การแพทย์ สังคมวัฒนธรรม มีหัวใจคือความเป็นมนุษย์

  3. เป้าหมายการพัฒนาระบบบริการสาธรณสุขเป้าหมายการพัฒนาระบบบริการสาธรณสุข บริการปฐมภูมิ หลักการ และแนวทางพัฒนา อาการ โรค ป่วย + สุขภาพ

  4. องค์ประกอบเป้าหมาย และกิจกรรม สุขภาพ โรคเรื้อรัง สร้าง + ดูแล รักษา ส่งเสริม พึ่งตนเอง บริการปฐมภูมิ หลักการ และแนวทางพัฒนา

  5. ระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิระบบคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

  6. แนวคิดการพัฒนา บทบาทของระบบบริการปฐมภูมิ บริการรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู เสริมการพึ่งตนเองอย่างสมดุล ประชาชนมีส่วนร่วม เน้นการร่วมสร้างเสริม “สุขภาพดี” คุณลักษณะคุณภาพของบริการปฐมภูมิ เข้าถึงง่าย ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง ตอบสนองปัญหาสุขภาพพื้นที่ ผสมผสานกับชุมชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปรับวิธีทำงานตามหลักการให้เหมาะสมกับบุคคล และบริบทแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพ แนวคิด CQI เน้นวิธีคิด และการเรียนรู้ปรับตัวอย่างเป็นระบบ เน้นประเมินเพื่อพัฒนา มากกว่าการรับรอง

  7. ขั้นตอนการทบทวน ประเมิน ทั่วไปให้หน่วยงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพภายใน (ตามบริบท) - การประเมินตนเอง (แนวคิด เป้าหมาย กระบวนการตอบเป้าหมาย) - การวางแผนพัฒนาคุณภาพ จัดระบบคุณภาพ ขั้นคัดกรอง ต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานลงทะเบียน ด้านปัจจัยนำเข้า (ประเมิน CUPร่วมกับPCU) เอาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาทางการบริหาร สนับสนุนด้วย ประเมินภายนอก ขั้นที่ 1 ประเมินกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเองขององค์กร ขั้นที่ 2 คุณภาพของกระบวนการหลัก ขั้นที่ 3 ประเมินผลลัพธ์ และระบบพัฒนาต่อเนื่อง

  8. แนวการดำเนินงาน เน้นการเรียนรู้และการพัฒนา ก. ทบทวนภายใน _ ดำเนินการทั่วไป ข. ทบทวน ประเมิน โดยบุคคลภายนอก - เฉพาะหน่วยที่พร้อม 1. สะท้อนผู้ปฏิบัติงานเพื่อปรับวิธีทำงาน กระบวนการทำงานใหม่ๆ 2. นำเสนอผลการพัฒนาในเชิงผลกระทบแก่ผู้บริหาร /ผู้กำหนดนโยบาย

  9. กรอบเครื่องมือทบทวนประเมินคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิกรอบเครื่องมือทบทวนประเมินคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

  10. Core Value หลักการทำงาน • การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง หรือ ความเป็นเลิศที่ต้องได้ • จากการให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย • 2. การทำงานอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • 3. การบริหารจัดการด้วยการใช้ข้อมูล และข้อเท็จจริง • 4. การเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล • 5. การบริหารจัดการเชิงระบบ • 6. การมีความคล่องตัว • 7. การยึด “ผลลัพธ์” และ “การให้คุณค่า” เป็นเป้าหมายในการทำงาน

  11. (ร่าง) มาตรฐานคุณภาพ ก. ระดับ CUP ใช้กรอบบริหารจัดการตามแนวทางของ malcom baldridge ข. ระดับ PCU ประกอบด้วย 2 หมวด 1. หมวดบริหารจัดการ PCU 2. หมวดบริการประกอบด้วย 3 กลุ่ม 2.1 บริการสุขภาพรายบุคคล และ ครอบครัว 2.2 ดูแลสุขภาพกลุ่มประชากร 2.3 การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน

  12. การจัดการสารสนเทศและความรู้การจัดการสารสนเทศและความรู้ ด้านผู้ป่วยและชุมชน  ตอบสนองปัญหา สุขภาพดี ประชาชนพึ่งตนเอง ด้านบุคลากรและระบบงาน ด้านประสิทธิผลองค์กร  ด้านการเงิน ด้านธรรมาภิบาลและความ รับผิดชอบต่อสังคม การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น พนักงาน การนำ ผลลัพธ์ การให้ความสำคัญกับ ประชาชนและชุมชน การจัดการ กระบวนการ บริหารจัดการใน CUP & PCU ระบบจัดการของCUP กระบวนการของPCU 1. สนับสนุน และ สร้างความ ยอมรับ PCU 2.สนับสนุนการบริหาร และ วิชาการ 3.สนับสนุนและประสาน เชื่อมโยงบริการ 4.สนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ท้องถิ่น ชุมชน หน่วยต่างๆ ระบบจัดการของ PCU 1.บริการรายบุคคล & ครอบครัว 2.การดูแลกลุ่มประชากร 3.การสร้างกระบวนการ เรียนรู้ร่วมกับองค์กร ชุมชน

  13. กระบวนการประเมิน 1. แบบประเมินตนเองทำโดยทีมผู้ปฏิบัติร่วมกัน 2. สังเกตกระบวนการให้บริการ 3. สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับระบบงาน และผลการ ดำเนินงาน 4. นำเสนอกรณีตัวอย่างที่ทำได้ดี 5. ตรวจสอบ พิจารณาจากเอกสาร ได้แก่ แบบบันทึการให้บริการ, สถิติ บริการด้านต่างๆ , แฟ้มข้อมูลบุคคล ครบครัว ชุมชน , บันทึกเยี่ยม บ้าน, บันทึกการส่งต่อ 6. สอบถามผู้ใช้บริการ ได้แก่ แบบสำรวจ PCUQ

  14. กรอบการประเมินคุณภาพภายในกระทวงสาธารณสุขกรอบการประเมินคุณภาพภายในกระทวงสาธารณสุข

  15. แต่ละอำเภอร่วมกับสสจ.จัดทำแผนพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชน/ดำเนินการพัฒนาในระดับจังหวัดแต่ละอำเภอร่วมกับสสจ.จัดทำแผนพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชน/ดำเนินการพัฒนาในระดับจังหวัด เครือข่ายบริการปฐมภูมิ/ คปสอ. จัดทำแผนพัฒนา / ดำเนินการสนับสนุนและร่วมพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนระดับอำเภอ ศูนย์สุขภาพชุมชนประเมินตนเอง / จัดทำแผนพัฒนา และดำเนินการพัฒนาร่วมกับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  16. ประชาชน (1) การบริการ (4) ประเมินผล (2) การบริหาร (3) วิชาการ CUP BOARD คปสอ.

  17. กรอบงานบริการของศูนย์สุขภาพชุมชนกรอบงานบริการของศูนย์สุขภาพชุมชน บริการของศูนย์สุขภาพชุมชน - บริการสอดคล้องกับความต้องการ - ประชาชนพึ่งตนเองได้ - มีคุณภาพชีวิตที่ดี - สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ 1. บริการองค์รวม ผสมผสาน รายบุคคลและครอบครัว 3. การดูแลกลุ่มประชากร/ ชุมชน ประเมินให้บริการติดตาม - Acute Problem (ปัญหาปัจจุบัน) - Psycho-social - Family oriented (สังคม จิตใจเชื่อมโยงกับครอบครัวและชุมชน -P&P(ส่งเสริม ป้องกัน) - Conttinuity (ต่อเนื่อง) -กลุ่มประชากร 0-5, 6-12,13-18,19-59, 60+ ปี - กลุ่มเสี่ยง/ผู้ด้อยโอกาส/ กลุ่มเฉพาะ การดำเนินงาน - รู้จักชาวบ้าน สร้างความสัมพันธ์ - รู้ปัญหา - ร่วมคิด - ร่วมแก้ไข พัฒนา/ ประเมินผล - เฝ้าระวัง ป้องกันโรคและภาวะเสี่ยงใน ชุมชน ผลผลิต / ผลสัมฤทธิ์ ทบทวน / ประเมิน 2. ประสานเชื่อมโยงบริการ

  18. (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2550-2554) พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร สถาบันวิจัย และพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สำนักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ

  19. เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สถาบันการศึกษา กระทรวง สธ. สปสช. องค์กรวิชาชีพ ระบบบริการ อปท. NGOs ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประชาสังคม หน่วยบริการปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ ประชาชน ผู้ป่วย ชุมชน สุขภาพ

  20. Services base เมือง หน่วยบริหาร เครือข่าย หน่วยบริหาร เครือข่ายเอกชน แบบเครือข่าย คลินิก lab PCU PCU ร้านยา PCU โรงพยาบาลชุมชน หรือศูนย์แพทย์ หน่วยบริหาร เครือข่ายที่มีแพทย์ Services base ชนบท Community base แพทย์แผนไทย/ทางเลือก Informal Care giver สอ สอ สอ หน่วยพยาบาล ชุมชน

  21. Stakeholders กระทรวงสาธารณสุข สปสช. อปท. องค์กรวิชาชีพ องค์กรภาคประชาชน/องค์กรชุมชน องค์กรสาธารณะประโยชน์ด้านสาธารณสุข ภาคเอกชนด้านบริการสุขภาพ

  22. พันธกิจของระบบบริการปฐมภูมิ:เครือข่ายบริการปฐมภูมิ ทำหน้าที่ดูแลสุขภาพและ เสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชน ในการดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนอย่างครอบคลุม และมีคุณภาพมาตรฐาน ที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ อย่างเหมาะสม

  23. วิสัยทัศน์ ระบบบริการปฐมภูมิเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่ครอบคลุม มีคุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับสภาพพื้นที่อย่างเหมาะสม เป็นที่ยอมรับของประชาชนและสังคม

  24. กรอบแนวคิด คุณค่า ของแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ มองประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับ ประชาชน ชุมชน เป็นสำคัญ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ การให้คุณค่าต่อการ ดูแลสุขภาพแบบเป็นองค์รวม ไม่แยกส่วน การสร้างให้เกิด คุณค่า ความภูมิใจ และแรงจูงใจในการทำงาน การทำงานเป็น ทีม สหสาขา การบริหารจัดการที่โปร่งใส มีความ ยืดหยุ่นคล่องตัว การพัฒนาให้เป็นองค์กรเรียนรู้ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  25. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิทิศทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เร่งสร้างให้เห็นถึงคุณค่า เอกลักษณ์ และการยอมรับต่อระบบบริการปฐมภูมิ ที่บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ บูรณาการศาสตร์และศิลป์เพื่อการดูแลสุขภาพ แบบองค์รวม และเป็นศูนย์สุขภาพของชุมชน ที่ดำเนินการร่วมกับชุมชน เพื่อสุขภาพของชุมชน 1. เร่งเสริมศักยภาพ ปรับระบบบริการปฐมภูมิส่วนที่มีอยู่เดิมให้สอดคล้อง กับบริบท และสภาพปัญหาของพื้นที่ ไม่ควรเป็นรูปแบบเดียวทั่วประเทศ และขยายบริการปฐมภูมิในส่วนที่เป็นจุดช่องว่างที่ประชาชนยังเข้าไม่ถึงบริการ 2. 3. สร้างการมีส่วนร่วม และระดมความร่วมมือกับภาคีภาคส่วนต่างๆ ทั้งรัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคชุมชน

  26. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิทิศทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ กระจายอำนาจการตัดสินใจในการจัดการให้กับหน่วยงานในระดับภูมิภาค และอำเภอเพิ่มมากขึ้น 4. พัฒนาวิธีบริหารจัดการรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย เพื่อนำมาแก้ปัญหาความขาดแคลนบุคลากรในการจัดบริการปฐมภูมิ และการจัดระบบดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบท 5. พัฒนาให้มีการใช้ข้อมูล สารสนเทศเพื่อประกอบการจัดบริการ การวางแผน และการติดตามประเมินผล เพื่อทำให้การดำเนินงานสอดคล้อง กับสภาพความต้องการของประชาชน และบริบทของพื้นที่ 6.

  27. ยุทธศาสตร์ 1: ระดมความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อเพิ่มศักยภาพและ ขยายบริการปฐมภูมิให้เข้าถึงชุมชน ยุทธศาสตร์ 2 : ปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการ ปฐมภูมิ อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 3 : สร้างคุณค่า และการยอมรับต่อระบบบริการปฐมภูมิ ยุทธศาสตร์ 4 : ปรับปรุงระบบการผลิต พัฒนา และระบบบริหาร จัดการบุคลากรบริการปฐมภูมิ ที่มีความหลากหลาย ยุทธศาสตร์ 5 : สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (ร่าง) งบประมาณ 1,064.56 ล้านบาท

  28. ยุทธฯ 1:ระดมความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อเพิ่มศักยภาพและ ขยายบริการปฐมภูมิให้เข้าถึงชุมชน( 768.3 ล้าน) 1.1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและขีดความสามารถหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้ สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ และ ตอบสนองความต้องการของประชาชน 1.2 ขยายบริการปฐมภูมิโดย ร่วมมือกับท้องถิ่น ชุมชนและเอกชน 1.3 ขยายและพัฒนาการจัดบริการปฐมภูมิรูปแบบต่างๆ ใน พื้นที่เขต หนาแน่น เขตที่เป็นช่องว่างในระบบ GIS และเขตทุรกันดาร เขตห่างไกล 1.4 ลดความแออัด รพ.ใหญ่ และเสริมการเชื่อมต่อระหว่าง รพ. กับ หน่วยบริการปฐมภูมิ

  29. ยุทธฯ 2 :ปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิอย่างมีประสิทธิภาพ( 33.06 ล้าน) 2.1 ให้มีกลไกประสาน และบริหารนโยบายระดับประเทศ 2.2 ปรับโครงสร้างและกลไกการจัดการทุกระดับให้รองรับ การพัฒนาบริการปฐมภูมิ และส่งเสริมการแบ่งอำนาจให้ ราชการส่วนภูมิภาค โดยส่วนกลางกำกับดูแลเชิงนโยบาย 2.3 ปรับปรุงการบริหารจัดการระบบงบประมาณ 2.4 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้สอดคล้องกับพื้นที่

  30. ยุทธฯ 2: ปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิอย่างมีประสิทธิภาพ(ต่อ) 2.5 สนับสนุนการประสานเครือข่ายในพื้นที่ และระหว่างพื้นที่ เพื่อช่วยเหลือ และสนับสนุนการพัฒนาระหว่างกัน 2.6 พัฒนาการบริหารจัดการการส่งต่อให้ดูแลต่อเนื่องและ การประสานบริการ 2.7 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศเพื่อการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 2.8 พัฒนาระบบการ ติดตามและประเมินผล

  31. ยุทธฯ3 :สร้างคุณค่า และการยอมรับต่อระบบบริการปฐมภูมิ ( 8.5 ล้าน ) 3.1 สร้างกระบวนการเคลื่อนไหว เพื่อสร้างอุดมการณ์การ บริการปฐมภูมิ 3.2 สื่อสาร-ประชาสัมพันธ์ให้ บุคลากร สาธารณสุขเข้าใจ คุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ 3.3 สื่อสาร-ประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชน ยอมรับ บทบาท คุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ 3.4 สร้างเครือข่ายนักรณรงค์เสริมสร้างคุณค่าบริการปฐมภูมิ และ ผลักดันเข้าสู่ความสนใจของสาธารณะ และนโยบาย

  32. ยุทธฯ 4 :ปรับปรุงระบบการผลิต พัฒนา และระบบบริหารจัดการบุคลากรบริการปฐมภูมิที่หลากหลาย ให้สอดคล้องกับระบบบริการปฐมภูมิและบริบทพื้นที่ (226.7 ล้าน) 4.1 เร่งพัฒนาระบบบริหารจัดการบุคลากร เพื่อการกระจายที่ เหมาะสมและเป็นธรรม เสริมสร้างขวัญกำลังใจให้บุคลากร 4.2 สนับสนุน อปท.และชุมชนมีส่วนร่วมวางแผนและบริหารจัดการ กำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ 4.3 สนับสนุนและพัฒนา การผลิตบุคลากรบริการปฐมภูมิให้เพียงพอ 4.4 สร้างเสริมขีดความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับ

  33. ยุทธฯ 5:สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ( 28 ล้าน ) 5.1 สนับสนุน ประสานเครือข่าย สถาบันวิชาการในการสร้าง องค์ความรู้ เทคโนโลยีที่เป็นเอกลักษณ์ 5.2 ส่งเสริมศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน และเครือข่ายหน่วย บริการในการจัดการความรู้ที่เป็นลักษณะเฉพาะของบริการปฐมภูมิ 5.3 พัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิโดยการมีส่วนร่วม ของภาคส่วนต่างๆ 5.4 ผสมผสานองค์ความรู้สุขภาพสาขาต่างๆ ในการจัดบริการปฐมภูมิ

  34. โครงการนวตกรรมบริการปฐมภูมิโครงการนวตกรรมบริการปฐมภูมิ เป็นส่วนหนึ่งของงบลงทุนเพื่อพัฒนาบริการปฐมภูมิ เจตนา เด็กไทยไม่กินหวาน เด็กไทยไม่กินหวาน พัฒนากระบวนการทำงาน ให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น กระตุ้นให้เกิดเครือข่ายเรียนรู้ระดับพื้นที่ พัฒนากลไกสนับสนุน พี่เลี้ยง

  35. กลยุทธ์ที่ 1.1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและขีดความสามารถหน่วยบริการ ปฐมภูมิให้สอดคล้องกับพื้นที่และตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของ.กสธ.และ สปสช. 2. ประชากรใช้บริการพื้นฐานที่หน่วยบริการปฐมภูมิมากขึ้น และลดการ ไป รพ.ใหญ่ 3. ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 2. มีระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และฉุกเฉิน ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีแผนแม่บทการกระจาย และมาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ ของประเทศ และ เขต 2. มีการกระจายอย่างเหมาะสม ตามบริบทของพื้นที่ 3. มีเครื่องมือ บุคลากร และจัดบริการได้ตามเกณฑ์ที่ กสธ. และ สปสช. ภายใน 5 ปี

  36. กลยุทธ์ที่ 1.2 ขยายบริการปฐมภูมิโดยร่วมมือกับท้องถิ่น ชุมชนและเอกชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. ร้อยละของหน่วยที่ให้บริการโดยร่วมมือกับท้องถิ่น ชุมชน 2. ร้อยละของหน่วยที่จัดระบบดูแลสุขภาพร่วมกับเอกชน ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีหน่วยที่ชุมชน ท้องถิ่น เป็นคู่สัญญาเพิ่มขึ้น 2. มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ดำเนินการโดย กองทุนระดับ ตำบลเพิ่มขึ้น 3. มีหน่วยที่เอกชนเป็นคู่สัญญาเพิ่มขึ้น

  37. กลยุทธ์ที่ 1.3ขยายและพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ รูปแบบต่างๆ ในพื้นที่หนาแน่น เขตช่องว่างในระบบ GIS ทุรกันดาร เขตห่างไกล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. มี CMUที่มีคุณภาพ ในพื้นที่ช่องว่าง ประชาชนพึง พอใจ และเพิ่มการเข้าถึงบริการ ตาม GIS 2. ประชาชนในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร เข้าถึงบริการมากขึ้น ตัวชี้วัด ผลผลิต 1. มี CMU ที่มีเครื่องมือ บุคลากรตามมาตรฐาน 2. มีรูปแบบการจัดบริการที่หลากหลาย ประชาชน เข้าถึงบริการมากขึ้น

  38. กลยุทธ์ที่1.4 ลดความแออัดใน รพ.ขนาดใหญ่และเสริมการเชื่อมต่อระหว่าง รพ. และ หน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. ผู้รับบริการระดับปฐมภูมิของ รพ.เป้าหมาย ลดลง 2. ประชาชนใช้บริการที่หน่วยบริการ เหมาะสมตามความรุนแรง ของโรค 3. ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยในรพ.ลดลดง 4. มีการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง และระบบส่งต่อร่วมกัน ตัวชี้วัดผลผลิต 1.รพ.ใหญ่ จัดหน่วยบริการปฐมภูมินอก ร.พ. แทน ในรพ. 2.รพ.ใหญ่ พัฒนาระบบส่งต่อ ผู้ป่วยเรื้อรัง ระหว่างรพ. และ หน่วยบริการปฐมภูมิ

  39. กลยุทธ์ที่ 2.1 กำหนดให้มีกลไกประสาน และบริหารนโยบาย ในระดับประเทศ เกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ นโยบายระดับประเทศที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่ปฏิบัติได้สำเร็จในระดับผลผลิตและระดับผลลัพธ์ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีคกก.อำนวยการการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแห่งชาติ ที่แต่งตั้งโดยครม. หรือ รมต. และเชื่อมโยงกับ คกก.บริหาร งบลงทุนฯ.ได้ต่อเนื่อง 2. มี คกก.ประสานแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบริการปฐมภูมิ และปฏิบัติงานได้ต่อเนื่อง 3. มีหน่วยที่ทำหน้าที่เป็นทีมเลขา ของ คกก.อำนวยการและ ปฏิบัติงานได้ต่อเนื่อง

  40. กลยุทธ์ที่ 2.2 ปรับโครงสร้าง / กลไกการจัดการให้รองรับการพัฒนาบริการปฐมภูมิ และส่งเสริมการแบ่งอำนาจ ให้ส่วนภูมิภาคสามารถจัดบริการได้มากขึ้น โดยส่วนกลางเป็นผู้กำกับเชิงนโยบาย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ กิจกรรมที่หน่วยบริหารระดับต่างๆ สนับสนุนให้หน่วยบริการปฐมภูมิ ดำเนินการได้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัดผลผลิต มีโครงสร้าง หน่วยบริการปฐมภูมิและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับส่วนกลาง จังหวัด และอำเภอ ที่กำหนดภารกิจบทบาท องค์ประกอบ หน้าที่อย่างชัดเจน ภายในปี 2551

  41. กลยุทธ์ที่ 2.3 ปรับปรุงการบริหารจัดการระบบงบประมาณให้สอดคล้องกับบริบท ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. หน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบฯ. สอดคล้องกับผลงาน และต้นทุน 2. หน่วยบริการปฐมภูมิที่มีสภาพคล่องทางการเงิน ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีระบบการประเมินความต้องการใช้ทรัพยากร/ งบประมาณ 2. มีหน่วยงานดูแล/ศึกษาผลกระทบ เรื่องการจัดสรร งบประมาณ

  42. กลยุทธ์ที่ 2.4 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ให้สอดคล้องกับบริบทต่างๆของพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ มีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิให้ได้มาตรฐาน ตัวชี้วัดผลผลิต 1. กสธ. และ สปสช. มีกรอบมาตรฐานคุณภาพและนำไป ประยุกต์ใช้ได้ 2. สสจ./หน่วยบริหาร มีพี่เลี้ยงเพื่อการพัฒนาคุณภาพ 3. มีระบบติดตาม และพัฒนาคุณภาพ โดยมีองค์กร ภายนอกร่วมด้วย

  43. กลยุทธ์ที่ 2.5 สนับสนุนการประสานเครือข่ายหน่วยบริการ ปฐมภูมิในพื้นที่ และระหว่างพื้นที่เพื่อการช่วยเหลือ และ สนับสนุนการพัฒนาระหว่างกัน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. หน่วยบริการปฐมภูมิ เรียนรู้ สนับสนุนกันและกันอย่างต่อเนื่อง ทำให้บริการมีคุณภาพ และผู้ให้บริการมีความสุข 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ มีนวตกรรมของงานบริการ บริหาร ตัวชี้วัดผลผลิต 1. เกิดเครือข่ายเรียนรู้และพัฒนาร่วมกันระหว่างอำเภอ 2. เกิดเครือข่ายเรียนรู้ระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิ

  44. กลยุทธ์ที่ 2.6 พัฒนาการบริหารจัดการการส่งต่อ (ไปและกลับให้ดูแลต่อเนื่อง) และการประสานบริการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. ผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการดูแลเหมาะสม ตามมาตรฐาน 2. ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแลส่งต่อเหมาะสม ตามมาตรฐาน 3. สถานบริการได้รับค่าส่งต่อเหมาะสม สอดคล้องกับต้นทุน 4. ผู้รับบริการพึงพอใจผลที่ได้รับจากบริการ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีหน่วยบริหารการส่งต่อในระดับเครือข่าย ครอบคลุมพื้นที่ 2. มี service guideline การส่งต่อภายในเครือข่าย 3. มีอัตราการจ่ายค่าบริการส่งต่อ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับ ต้นทุนบริการ

  45. กลยุทธ์ที่ 2.7 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. หน่วยบริหาร(จังหวัด และส่วนกลาง) ใช้ข้อมูลเพื่อจัดสรรทรัพยากร 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ/เครือข่ายใช้ข้อมูลเพื่อวางแผนพัฒนางาน 3. หน่วยบริหาร และหน่วยบริการมีการจัดการทรัพยากรที่เป็นธรรม ตัวชี้วัดผลผลิต 1. หน่วยบริหาร/หน่วยบริการ มีข้อมูลด้านต้นทุน สถานะองค์กร 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ มีข้อมูลผู้รับบริการ ประชากร เพื่อการวางแผน 3. มีหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบดูแล และบริการ ข้อมูล-สารสนเทศ 4. บุคลากรที่รับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะในการจัดการข้อมูล

  46. กลยุทธ์ที่ 2.8 พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผล เพื่อการตัดสินใจทางการบริหารอย่างมีประสิทธิผล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. หน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริหาร มีการปรับระบบงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 2. หน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริหาร /จัดสรรทรัพยากรได้เหมาะสม ตัวชี้วัดผลผลิต 1. หน่วยบริหารในพื้นที่ มีตัวชึ้วัดที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ 2. หน่วยบริหาร มีบุคลากรที่มีทักษะกำกับ ติดตาม ประเมินผล 3. หน่วยบริการ มีการทบทวน ประเมินผลลัพธ์การดูแลสุขภาพ

  47. กลยุทธ์ที่ 3.1 สร้างกระบวนการเคลื่อนไหวสังคมเพื่อสร้าง อุดมการณ์การบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. บุคลากร เข้าใจอุดมการณ์การบริการปฐมภูมิ 2. ผู้ให้บริการปฐมภูมิ ได้หล่อหลอมพลังใจและเสริมสร้างสมรรถนะในการทำงานเคลื่อนไหวสังคม ตัวชี้วัดผลผลิต 1. กลุ่มเป้าหมายต่างๆ รับรู้ถึง “แก่นสารอันเป็นเป้าหมายและอุดมการณ์ร่วมกัน” ของการบริการปฐมภูมิ 2. บุคคลระดับผู้นำความคิด เข้าร่วมและมีบทบาทในกิจกรรมเพื่อสร้างอุดมการณ์บริการปฐมภูมิ

  48. กลยุทธ์ที่ 3.2 สื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรสาธารณสุข เข้าใจถึงคุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ ของหน่วย บริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ บุคลากร มีทัศนคติที่ดี เข้าใจคุณค่า ศักดิ์ศรี เอกลักษณ์ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีแผนและดำเนินงานสื่อสาร/ปชส. ที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 2. ผู้ให้บริการปฐมภูมิ มีความมั่นใจในคุณค่าของงาน มีขวัญกำลังใจ ภาคภูมิใจในศักดิ์ศรี 3. ผู้บริหาร มีทัศนคติที่ดีและยอมรับคุณค่าของบริการปฐมภูมิ 4. บุคลากรสาธารณสุขในวิชาชีพอื่น ๆ มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของ บริการปฐมภูมิ 5. ผู้ที่กำลังศึกษาในวิชาชีพการแพทย์และสาธารณสุข มีทัศนคติที่ดีต่อ บริการปฐมภูมิ

  49. กลยุทธ์ที่ 3.3 สื่อสารและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ยอมรับถึงบทบาท คุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ของ หน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ประชาชน ยอมรับบทบาท คุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. มีแผนและดำเนินงานสื่อสาร /ปชส. ให้ประชาชนรับรู้ และยอมรับบทบาท คุณค่า ศักดิ์ศรี เอกลักษณ์ต่อเนื่อง 2. ประชาชน เชื่อมั่นและยอมรับการบริการของหน่วยบริการ ปฐมภูมิ

More Related