1 / 29

ธี ระ ศิ ริสมุด, teera.s@hitap , 086-0907925

ประสบการณ์การศึกษาและดำเนินงานเพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย : โครงการพัฒนาและประเมินมาตรการเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย. ธี ระ ศิ ริสมุด, teera.s@hitap.net , 086-0907925 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ ( HITAP ), www.hitap.net 16 กันยายน 2556. ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้.

Download Presentation

ธี ระ ศิ ริสมุด, teera.s@hitap , 086-0907925

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประสบการณ์การศึกษาและดำเนินงานเพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย: โครงการพัฒนาและประเมินมาตรการเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย ธีระ ศิริสมุด, teera.s@hitap.net, 086-0907925 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP), www.hitap.net 16 กันยายน 2556

  2. ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ • ปัญหาสุขภาพจิตเป็นเรื่องซับซ้อน/การตรวจด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ทำได้ยาก • การพึ่งพาบุคลากรทางการแพทย์ให้ทำหน้าที่ในการเฝ้าระวังกับทุกคนเป็นไปได้ยากที่ครอบคลุมและดี • อสม. ไม่มั่นใจ และไม่ได้ใช้เครื่องมือในการเฝ้าระวัง ดูแล และส่งต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิตไปยังสถานพยาบาล • ผู้นำในชุมชนมิได้ตระหนักว่าปัญหาการทำร้ายตนเองของคนในพื้นที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน • บริการโทรศัพท์สายด่วนสุขภาพจิตเป็นช่องทางหนึ่งที่ควรให้ความสำคัญ แต่ข้อจำกัดปัจจุบัน คือให้บริการยังไม่เป็นระบบ และบางครั้งไม่ใช้ภาษาถิ่น

  3. ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ • คนรอบข้าง (ครอบครัว อสม. แกนนำ) เหมาะสมที่สุดที่ควรเป็นผู้เฝ้าระวัง วินิจฉัยเบื้องต้นและส่งต่อ • ผู้พยายามและฆ่าตัวตายสำเร็จส่วนใหญ่มีสัญญาณเตือน (warning sign) แต่คนรอบข้างไม่รู้ ไม่ตระหนัก • หญิง ชาย เด็ก วัยรุ่น คนโตและคนแก่ที่อยู่ในบริบทแวดล้อมต่างๆ อยู่ในสภาวะสุขภาพที่ต่างกัน จะมีวิธีหาทางออกหรือจัดการปัญหาและความเครียดที่ความแตกต่างกัน

  4. ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ท่านคิดอย่างไร...กับข้อความเหล่านี้ • มาตรการป้องกันการฆ่าตัวตายมีความเฉพาะ มีความละเอียดอ่อนในการพัฒนา และการมีส่วนร่วมของพื้นที่ • มาตรการที่พัฒนาแล้วอาจไม่สามารถนำไปใช้ในพื้นที่อื่นได้ ต้องมีการปรับเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่

  5. ข้อความเหล่านี้ คือ....ข้อค้นพบจากการศึกษา โครงการพัฒนาและประเมินมาตรการเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย ระยะที่ 1

  6. ระยะที่ 1 วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทำร้ายตนเอง และสัญญาณก่อนการทำร้ายตนเอง • เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันการทำร้ายตนเองในระดับชุมชนดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน และข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนามาตรการฯ พื้นที่ศึกษา: ตำบลนครเจดีย์ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน 2 หมู่บ้าน ได้แก่ • หมู่บ้านหนองสมณะ • หมู่บ้านหนองสมณะใต้

  7. กรอบการศึกษา - มุมมองต่อการฆ่าตัวตาย - การเข้าถึงการบริโภคสุรา • - ความเชื่อเกี่ยวกับชาติหน้า • ค่านิยมชู้สาว - การไม่ได้รับการยอมรับในชุมชน - การนินทา พูดเหยียดหยาม - การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ • - การมีหนี้สินในครัวเรือน • - การมีปัญหาชู้สาว ที่มา: กรอบการศึกษาลำดับเหตุการณ์การเกิดพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (มาโนช หล่อตระกูลม,2543) และกรอบการศึกษาค่านิยมและวัฒนธรรมทางสังคมที่ป้องกันการฆ่าตัวตายในภาคเหนือ (อภิชัย มงคล, 2551)

  8. วิธีการศึกษา

  9. บทบาทของอสม. และแกนนำชุมชน • อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) • ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และบทบาทในการเฝ้าระวังและจัดการกับปัญหาความเครียดและการทำร้ายตนเอง • ยังขาดแนวทางในการคัดกรองในชุมชนที่เป็นระบบ • คนในชุมชนไม่มีความเชื่อมั่นที่จะขอคำปรึกษาและความช่วยเหลือ • แกนนำชุมชน • ยังไม่มีบทบาทชัดเจนในการเฝ้าระวัง (ไม่ได้ตระหนักว่าปัญหาการทำร้ายตนเองของคนในพื้นที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน)

  10. มุมมองของชุมชน • ห้องสุขภาพจิตถูกมองเป็นห้องสำหรับ “ผีบ้า” • คนในชุมชนมองปัญหาการทำร้ายตนเองว่าเกี่ยวข้องกับปัญหาทะเลาะเบาะแว้งกับบุคคลใกล้ชิด ปัญหาชู้สาว ปัญหาเศรษฐกิจ การมีหนี้สิน รายได้ไม่มั่นคง และไม่เชื่อมโยงการทำร้ายตนเองกับโรคทางจิตเวช: “ ผีบ้าไม่ฆ่าตัวตาย” >> ไม่คิดว่าผู้ที่มีปัญหาข้างต้นควรเข้าสู่ระบบการให้คำปรึกษาและรักษาไม่ให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและป้องกันการทำร้ายตนเองในชุมชน • ผู้นำในชุมชนมิได้ตระหนักว่าปัญหาการทำร้ายตนเองของคนในพื้นที่มีความสำคัญและจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน >> ไม่ให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวังและป้องกันการทำร้ายตนเองในชุมชน

  11. บทบาทของคนใกล้ชิดและชุมชนบทบาทของคนใกล้ชิดและชุมชน • บทบาทสำคัญจึงอยู่ที่คนใกล้ชิด และชุมชน (เหตุการณ์ฆ่าตัวตายมักเกิดที่บ้านและในชุมชน) • หน่วยบริการปฐมภูมิ • โรงพยาบาลและผู้เชี่ยวชาญ เป็นฝ่ายสนับสนุนองค์ความรู้และให้การรักษา

  12. ระยะที่ 2 และ 3 วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนามาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน • เพื่อประเมินมาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายที่ดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม และวางอยู่บนหลักฐานเชิงประจักษ์

  13. พื้นที่ศึกษา 10 อำเภอในเชียงใหม่ 8 อำเภอในลำพูน • จำนวนประชากรในพื้นที่ศึกษา • จังหวัดเชียงใหม่ 554,736 คน • จังหวัดลำพูน 245,405 คน

  14. กรอบการดำเนินงานและการวิจัยประเมินผลกรอบการดำเนินงานและการวิจัยประเมินผล มาตรการป้องกันปัญหา การฆ่าตัวตาย ประชาชนในพื้นที่

  15. แนวทางการพัฒนามาตรการแนวทางการพัฒนามาตรการ

  16. การพัฒนามาตรการในโครงการวิจัยการพัฒนามาตรการในโครงการวิจัย • พัฒนาระบบบริการ • คู่มือในการจัดการปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ระดับปฐมภูมิ และสำหรับผู้นำชุมชนและ อสม. • ระบบการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์สายด่วน (hotline) ให้เป็นที่รู้จักของประชาชนและเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ • พัฒนามาตรการสื่อสาร ที่เหมาะสมกับบริบทอย่างมียุทธศาสตร์ เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติของคนในชุมชนต่อปัญหาสุขภาพจิต ทราบสัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตาย รู้จักบริการปรึกษาทางโทรศัพท์ และการจัดการความเครียด

  17. วิธีการพัฒนามาตรการ • มาตรการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ: คู่มือฯ • ดำเนินการร่วมกับกรมสุขภาพจิตในการทบทวนและจัดเตรียมเนื้อหาที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับการป้องกันการฆ่าตัวตาย • รับฟังความคิดเห็นเบื้องต้นจากพยาบาลจิตเวช • จัดสนทนากลุ่มทั้งกลุ่มเจ้าหน้าที่ฯ และ อสม.กับแกนนำชุมชนเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคู่มือ เพื่อความเหมาะสมในการใช้งาน • มาตรการสื่อสาร • จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายในจังหวัดเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบของมาตรการ • จัดประชุมเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะจากพยาบาลจิตเวช

  18. คู่มือการดูแลทางจิตเวชสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิ (โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สถานีอนามัย สถานบริการสาธารณสุข) • การซักประวัติ การประเมินและสังเกต • กลุ่มเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต • ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช • การดูแลภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช • การคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต • การแจ้งผลการคัดกรองหรือการประเมินปัญหาสุขภาพจิต • การช่วยเหลือดูแลสังคมจิตใจเบื้องต้น การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต • การให้คำปรึกษา (Counseling) • การดูแลผู้มีปัญหาทางจิตเวชอย่างต่อเนื่อง • การติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท์ การเยี่ยมบ้าน • ภาคผนวก แบบคัดกรองปัญหาโรคซึมเศร้าและ การฆ่าตัวตาย แบบคัดกรองโรคจิตแบบคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา

  19. คู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม. และแกนนำชุมชน • ความสำคัญของปัญหาการฆ่าตัวตาย • สาเหตุของปัญหาการฆ่าตัวตาย • แนวทางการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตาย • ประเมินกลุ่มเสี่ยง การรับรู้ สังเกตและทราบถึงสัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตาย • การช่วยเหลือผู้มีความเสี่ยงต่อการตัดสินใจฆ่าตัวตาย • การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและการเสริมความเข้มแข็งด้านจิตใจกับครอบครัวและชุมชน • แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพจิตและการฆ่าตัวตาย

  20. มาตรการสื่อ สื่อสปอตวิทยุ ป้ายประชาสัมพันธ์ สื่อบุคคล

  21. ตัวอย่างมาตรการสื่อ: สปอตวิทยุ

  22. การประเมินผล

  23. ผลการสำรวจข้อมูลก่อนดำเนินโครงการผลการสำรวจข้อมูลก่อนดำเนินโครงการ • ประชาชนทั่วไป • แกนนำ/อสม.

  24. รู้จักสายด่วน 1323 50%ของทั้งสองกลุ่มเข้าใจผิดว่าสายด่วนสุขภาพจิตให้คำปรึกษาเฉพาะโรคทางกาย และเปิดให้คำปรึกษาตามเวลาราชการ 26%ของประชาชนทั่วไป และ 15%ของ อสม./แกนนำ เข้าใจผิด ว่าจะต้องเสียค่าโทรศัพท์เพื่อรับการปรึกษาด้วย

  25. ความรู้ที่เกี่ยวกับปัญหาการฆ่าตัวตายความรู้ที่เกี่ยวกับปัญหาการฆ่าตัวตาย

  26. ทัศนคติและความเชื่อเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายทัศนคติและความเชื่อเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย

  27. การนำความรู้ไปปฏิบัติการนำความรู้ไปปฏิบัติ

  28. ข้อเสนอแนะการดำเนินงานป้องกันการฆ่าตัวตายในพื้นที่ข้อเสนอแนะการดำเนินงานป้องกันการฆ่าตัวตายในพื้นที่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้ง รพช. รพ.สต. ควร

More Related