1 / 18

สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

บทที่ 7. กลุ่มย่อย IEEE 802.11. วิชา... เทคโนโลยีไร้สาย. สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. Department of Applied Science, YRU. Outline. กลุ่มย่อยของมาตรฐาน IEEE 802.11 แบบดั้งเดิม IEEE 802.11b IEEE 802.11a IEEE 802.11g

brygid
Download Presentation

สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 7 กลุ่มย่อย IEEE 802.11 วิชา... เทคโนโลยีไร้สาย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา Department of Applied Science, YRU

  2. Outline • กลุ่มย่อยของมาตรฐาน • IEEE 802.11 แบบดั้งเดิม • IEEE 802.11b • IEEE 802.11a • IEEE 802.11g • IEEE 802.11 Wi-Fi • IEEE 802.11n

  3. กลุ่มย่อยของมาตรฐาน • กลุ่ม IEEE 802.11 แบ่งกลุ่มทำงานเพื่อศึกษาและหาแนวทางในการกำหนดมาตรฐานขึ้นเพื่อใช้งาน โดยใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นชื่อแทนกลุ่ม เช่น a , b, c, n

  4. กลุ่มย่อยของมาตรฐาน ตารางที่ 7.1 กลุ่มทำงานย่อยสำหรับเทคโนโลยีที่ใช้งานหลัก

  5. กลุ่มย่อยของมาตรฐาน (ต่อ) ตารางที่ 7.2 กลุ่มทำงานย่อยสำหรับเทคโนโลยีที่ใช้งานหลัก

  6. IEEE 802.11 แบบดั้งเดิม • เป็นมาตรฐานฉบับแรกที่กล่าวถึงเรื่องเครือข่ายไร้สาย ใช้ในปี พ.ศ. 2540 • ทำงานแบบการมอดูเลชั่นแบบลำดับตรง ทำงานที่ความเร็ว 2 Mbps โดยจะลดความเร็วมาทำงานที่ความเร็ว 1 Mbps ในกรณีมีสัญญาณรบกวน • ทำงานแบบกระโดดความถี่ ทำงานที่ความเร็ว 2 Mbps • การทำงานทั้งสองแบบใช้ความถี่ย่าน 2.4 GHz

  7. IEEE 802.11b • เป็นมาตรฐานใช้ในปี พ.ศ. 2542 • ขอบเขตสัญญาณอยู่ที่ 50-100 เมตร ใช้เสาอากาศแบบกระจายรอบทิศทาง (Omni-Direction antenna) • ความเร็วสูงสุด 11 Mbps โดยสามารถปรับความเร็วในการส่งมาที่ 5.5, 2 และ 1 Mbps ใช้ความถี่ย่าน 2.4 GHz • การมอดูเลชั่นแบบตรง และมีการควบคุมการเข้าใช้สื่อเป็นแบบ CSMA/CA • จะถูกลดทอนสัญญาณเมื่อเคลื่อนที่ผ่านวัสดุต่างๆ ที่ไม่เท่ากันจะลดทอนมากถ้าเป็นวัสดุที่มีความหนาแน่นสูง เช่น เหล็ก กำแพงปูนหนา

  8. IEEE 802.11b (ต่อ) รูปที่ 7.1 การแบ่งช่องสัญญาณของ IEEE802.11b

  9. IEEE 802.11a • เป็นมาตรฐานใช้อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2544 • ค่าความเร็วสูงสุด 54 Mbps ความเร็วในการใช้งานจริงโดยเฉลี่ย 22 Mbps • ย่านความถี่ที่ใช้งานคือ ย่าน ISM 5.7 GHz • ขอบเขตสัญญาณจะน้อยกว่ากลุ่ม b เนื่องจากความถี่ที่สูงกว่า ประมาณ 50 เมตร • การมอดูเลชั่นใช้งานแบบ OFDM • มีการกำหนดช่องสัญญาณจำนวน 12 ช่องสัญญาณ โดยมี 8 ช่องสัญญาณใช้งานภายในอาคาร และอีก 4 ช่องสัญญาณใช้งานภายนอกอาคาร • มาตรฐานนี้ใช้เฉพาะบางประเทศ เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องย่านความถี่ • ไม่ค่อยเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเนื่องจากไม่สามารถใช้อุปกรณ์ร่วมกับกลุ่มอื่น

  10. IEEE 802.11g • เป็นมาตรฐานใช้ในปลายปี พ.ศ. 2544 • เป็นกลุ่มมาตรฐานที่เกิดจากความต้องการที่จะเพิ่มความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลจากมาตรฐาน 802.11b โดยยังคงใช้ย่านความถี่ ISM 2.4 GHz • เปลี่ยนการมอดูเลชั่นเป็นแบบ OFDM และปรับกระบวนการเข้าสื่อเล็กน้อย • ทำให้สามารถเพิ่มอัตราในการรับ-ส่งข้อมูลเป็น 54 Mbps ความเร็วในการใช้งานจริงโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 22 Mbps • มาตรฐานนี้สามารถทำงานร่วมกันกับมาตรฐาน 802.11b (Backward Compatible) ได้อีกด้วย

  11. IEEE 802.11g (ต่อ) รูปที่ 7.1 อัตราในการรับ-ส่งข้อมูลของ 802.11b เทียบกับ 802.11g ตามระยะทาง

  12. IEEE 802.11 Wi-Fi • เป็นการรวมตัวของกลุ่มผู้ผลิตใช้ชื่อ กลุ่มพันธมิตรไว-ไฟ (Wi-Fi Alliance) • เพื่อทำการทดสอบการใช้งานร่วมกันของอุปกรณ์จากต่างบริษัทที่ผลิตและออกแบบภายใต้มาตรฐาน IEEE802.11 • เพื่อยืนยันว่าอุปกรณ์เหล่านี้สามารถใช้งานทดแทนกันได้ โดยหลังจากที่ผ่านการทดแล้วทางกลุ่มจะอนุญาตให้บริษัทผู้ผลิตใช้มาตรฐานการค้า (TM : Trade Mark) หรือสัญลักษณ์ WiFiบนผลิตภัณฑ์ของตนได้

  13. IEEE 802.11n • เน้นเรื่องอัตราเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลให้สูงขึ้นใกล้เคียงกับการสื่อสารของแลน ขณะนั้นคาดหมายที่ 100 Mbps ซึ่งต่อมามีการวางแผนการพัฒนาความเร็วเพิ่มเป็น 600 Mbps • มีการพัฒนาด้านการใช้พลังงานของอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ (Power Efficiency) • มีการพัฒนาระบบสายอากาศ (Antenna) ที่เรียกว่ามายโม่ (MIMO : Multiple Input Multiple Output) • เพิ่มจำนวนเสาและชุดอุปกรณ์รับ-ส่ง (Transceiver) ทำให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ที่อัตราความเร็ว 300 Mbps เมื่อใช้เสาอากาศแบบ 2 x 2 และความเร็ว 600 Mbps เมื่อใช้เสาอากาศแบบ 4 x 4

  14. IEEE 802.11n (ต่อ) • มีการพัฒนาให้เพิ่มระยะโดยอาศัยเทคโนโลยีที่เรียกว่า การจัดการบีมสัญญาณ (Beam Forming Technology) • มีการพัฒนาการเข้ารหัสที่เรียกว่า STBC (Space Time Block Coding) เพื่อใช้ในการลดการหลุดของการเชื่อมต่อโดยการใช้เสาอากาศสำรอง (Spatial) แบบหลายชุดเพื่อรองรับการสื่อสารด้วยเสียง (VoIP : Voice Over IP) • การควบคุมการเข้าใช้สื่อเรียกว่าซูเปอร์เฟรม (Superframe) ที่มีความสามรถในการรวมเฟรมข้อมูลเข้าด้วยกัน เพื่อการส่งที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ปรับปรุงการบวนการแอ็คแบบกลุ่ม (Block Ack) เพื่อลดค่าการใช้พลังงาน

  15. IEEE 802.11n (ต่อ)

  16. IEEE 802.11n (ต่อ)

  17. IEEE 802.11n (ต่อ)

More Related