1 / 69

After Postmodern 2

After Postmodern 2. “ เราอาจพูดได้ว่าขณะนี้ กระบวนทัศน์ของโลก กำลังมุ่งหน้ามาทางตะวันออก สู่การมองความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างเป็นองค์รวม เป็นระบบนิเวศน์ ”. Fritjof Crapa, the web of life. Architecture.

bruis
Download Presentation

After Postmodern 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. After Postmodern 2

  2. เราอาจพูดได้ว่าขณะนี้ กระบวนทัศน์ของโลก กำลังมุ่งหน้ามาทางตะวันออก สู่การมองความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างเป็นองค์รวม เป็นระบบนิเวศน์ ” Fritjof Crapa, the web of life

  3. Architecture วิธีหนึ่งที่มนุษย์ใช้ในการถนอมรักษามิติของชีวิตทั้งสี่นี้ก็คือ การปลูก+สร้าง (building) สถาปัตยกรรม เพื่อทำให้ "โลก" ปรากฏ เมื่อโลกนั้นหมายถึงองค์รวมแห่งพื้นดิน ผืนฟ้า มวลมนุษย์ และเทพยาดา

  4. ตะวันออกเอื้อการเชื่อมต่อโลกมากกว่าตะวันออกเอื้อการเชื่อมต่อโลกมากกว่า กรอบประตู มะ close open ที่ว่าง การก่อแบบตะวันตก การปลูกเรือนแบบตะวันออก สถานที่ พระอาทิตย์ พระจันทร์

  5. ผูกพันกับพื้นและที่ว่างใต้หลังคา: เอื้อให้เกิดการรับรู้จากการสัมผัส ตะวันออก (ญี่ปุ่น, ไทย) ตะวันตก

  6. สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น ไม่ใช่สถาปัตยกรรมแห่ง “ที่ว่าง” แต่เป็นสถาปัตยกรรมแห่ง "สถานที่" แบบ "มะ" ความงามที่เกิดขึ้นจาก สถานที่ในวัฒนธรรมญี่ปุ่นเกิดขึ้นในลักษณะของการมี ปฏิกริยาโต้ตอบ ต่อ สถานที่ และ ความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติแวดล้อม

  7. Architecture of roof and floor: ไม่เน้นการปิดล้อมด้วยผนัง

  8. ทัศนคติความงาม ทางตะวันออก+ตะวันตก

  9. วิธีการเชื่อมต่อกับมิติแห่งธรรมชาติในวิถีตะวันออกวิธีการเชื่อมต่อกับมิติแห่งธรรมชาติในวิถีตะวันออก Tadao Ando

  10. 1. ขอบเขต(boundary) ที่เชื่อมต่อมนุษย์ และมิติธรรมชาติ ในงานสถาปัตยกรรมของอันโด

  11. รูปทรงเรขาคณิต + งานสถาปัตยกรรมของ Tadao Ando

  12. "ความคิดเรื่องศูนย์กลางเป็นสิ่งที่น่าสนใจและค่อนไปทางตะวันตก โรล็องด์ บาร์ตส์ เคยมาญี่ปุ่น และวิจารณ์ว่าประเทศนี้เหมือน มีความลึกมาก แต่ ไม่มีศูนย์กลาง ผมว่าผมมีความคิดแบบนี้ติดตัวอยู่ สำหรับผม ศูนย์กลางของสถาปัตยกรรมเป็น "คน" ที่อยู่ในนั้นแล้วมีประสบการณ์ด้วยตัวเอง” Tadao Ando

  13. “ปัญหาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อยู่ที่ลักษณะนามธรรมและความเป็นหนึ่งเดียวของพื้นที่“ปัญหาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อยู่ที่ลักษณะนามธรรมและความเป็นหนึ่งเดียวของพื้นที่ พื้นที่แบบนี้ กับคนนั้นไปด้วยกันไม่ได้ แม้ว่าสถาปัตยกรรมเป็นระเบียบของเรขาคณิตที่เป็นนามธรรมและดำรงอยู่ได้ด้วยตัวเอง แต่ระเบียบนี้เป็นสิ่งซึ่งแตกต่างในสาระสำคัญกับ ระเบียบในชีวิตประจำวัน” Tadao Ando (ความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์+ธรรมชาติ แสง ลม ฝน) โดยที่เป็นการปรากฏรูปของวัสดุ สถาปัตยกรรมเป็นสื่อที่รวมเอาปัจจัยเหล่านี้เองที่สร้างระเบียบใก้แก่รูปทรงสถาปัตยกรรมอีกทีหนึ่ง

  14. อุดมคติแห่งความงาม อันยิ่งใหญ่ของโลกตะวันตก “ความสมบูรณ์ อมตะไร้กาลเวลา”

  15. เหตุผลในการเลือกใช้ รูปทรงเรขาคณิตในงานสถาปัตยกรรมของ Tadao Ando

  16. “ลักษณะของพื้นที่จึงไม่ได้เป็นผลมาจาก ทัศนวิสัยหนึ่งเดียวสมบูรณ์...ผมพยายามสร้างสรรค์พื้นที่ซับซ้อนโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติและความเคลื่อนไหวของมนุษย์บนรูปทรง เรขาคณิตที่เรียบง่าย สิ่งที่ดูจะสมบูรณ์ในตัวเองและหยุดนิ่ง เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยความเคลื่อนไหวของธรรมชาติหรือมนุษย์ที่เพิ่มเติมเข้ามา เมื่อผู้ดูแต่ละคนที่เคลื่อนตัวไปแต่ละจุดที่ถูกจัดวางมุมมองที่แตกต่างกันจะได้รับรู้ภาพรวมที่ถูกจารึกไว้ในใจ และก่อเป็นการรับรู้ที่ต่างกันในแต่ละบุคคล สิ่งที่ผมสนใจนั้นแน่นอนว่าเป็นวิถีทางที่แต่ละบุคคลจะสัมพันธ์กับสถาปัตยกรรม Tadao Ando

  17. เมื่อผู้ดูแต่ละคนที่เคลื่อนตัวไปแต่ละจุดที่ถูกจัดวางมุมมองที่แตกต่างกันจะได้รับรู้ภาพรวมที่ถูกจารึกไว้ในใจ และก่อเป็นการรับรู้ที่ต่างกันในแต่ละบุคคล สิ่งที่ผมสนใจนั้นแน่นอนว่าเป็นวิถีทางที่แต่ละบุคคลจะสัมพันธ์กับสถาปัตยกรรม Tadao Ando

  18. เรขาคณิตถูกใช้ทำงานอย่างไรในงานของ Ando • เพื่อสลายอุดมคติ แบบสมัยใหม่นิยมที่ต้องการสร้างความสมบูรณ์โดยสร้างความเป็นศูนย์กลางแก่พื้นที่ • เป็นการเน้นว่าความหมายของรูปทรงเรขาคณิตที่ก่อให้เกิดพื้นที่สถาปัตยกรรมจะต้อง • เติมเต็มโดยผู้ใช้

  19. ศูนย์กลางของ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ นั้นอยู่ที่พื้นที่และความสมบูรณ์รูปทรงอันบริสุทธิ์ ในขณะที่ศูนย์กลางของงานอันโด อยู่ที่ ผู้ใช้อาคาร ที่กำลังได้รับประสบการณ์จากแต่ละพื้นที่ย่อยๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นงานของอันโด รูปทรงเรขาคณิตในงานอันโดจึงไม่ใช่รูปทรงสมบูรณ์อมตะแบบงานโมเดิร์น แต่เป็นรูปทรงเรขาคณิตที่เอื้อให้เกิด การเติมเต็มโดยผู้ใช้ และการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ

  20. โดยใช้ สร้างความไม่สมบูรณ์ ให้แก่ รูปทรงเรขาคณิต เพื่อเอื้อให้คนได้ขยายประสบการณ์ในพื้นที่ เช่น โดยการเฉือนพื้นที่บางส่วน หรือนำมาจัดซ้อนทับประกอบใหม่

  21. บ้านโคชิโน ค.ศ.1983-1984

  22. "แน่นอนว่าที่ว่าวงกลมนั้นแสดงแทนความเป็นนิรันดร์ เมื่อพูดถึงโค้งของผม มันคือหนึ่งในสี่ หรือหนึ่งในหกของวงกลมในฐานะสัญลักษณ์ของความเป็นนิรันดร์ คุณจะเชื่อมต่อส่วนที่เหลือของวงกลมเพื่อสร้างจักรวาลของตัวเองอย่างไรก็ขึ้นอยู่กับใจคุณ ผมพยายามจะสร้างความสมบูรณ์ขึ้นภายในใจผู้ชม"

  23. การไร้ศูนย์กลางของพื้นที่ พื้นที่เคลื่อนที่

  24. การแบ่งแยกพื้นที่ด้วย partition เบา - โชจิ (โปร่งแสง) ถ้า การแบ่งแยกอย่างชัดเจน คือ ลักษณะของพื้นที่ในสถาปัตยกรรมตะวันตก เช่น ห้องนอน ห้องนั่งเล่น ความคลุมเคลือ เปลี่ยนแปลงไม่แน่นอน เคลื่อนไหวต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง ก็คือลักษณะเฉพาะของพื้นที่ใน วัฒนธรรมญี่ปุ่น (โดย ฉากเลื่อนโชจิที่เบา+โปร่งแสง)

  25. Perception of Space: Immediate Receptors-Skin and Muscles สวนตะวันตก - มีจุดศูนย์กลาง รับรู้ได้ในชั่วพริบตา จากการมองอย่างเดียว แยกตัว ออกจากโลกส่วนอื่นอย่างชัดเจน สวนประกอบอาคารพิธีชา - ไร้ศูนย์กลาง ก่อให้เกิดการ กระจายตัวของพื้นที่ย่อยๆ แทรกซึมไปกับโลกแวดล้อม ก่อให้เกิดการรับรู้เป็นภาพรวม *การรับรู้เป็นภาพรวม เกิดขึ้นจากค่อยๆ รับรู้ประสบการณ์ผ่าน ประสาทสัมผัสทางร่างกาย ผ่านการเคลื่อนที่ของร่างกาย... การเดิน เป็น การสร้างสมาธิ เพื่อเตรียมจิตใจให้พร้อมเข้าอาคารชา

  26. ในขณะที่คนอเมริกันมีความหมกมุ่นในการข้ามพื้นที่ให้ได้เร็วที่สุดในขณะที่คนอเมริกันมีความหมกมุ่นในการข้ามพื้นที่ให้ได้เร็วที่สุด คนญี่ปุ่น มีวัฒนธรรมการ ดึงให้คนอยู่กับพื้นที่ ยาวนานขึ้น Gunter Nitschke

  27. การเดินผ่านธรรมชาติ เป็นวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อให้คนอยู่กับพื้นที่ยาวนานขึ้น ซึ่งก็คือ การเพิ่มเวลาให้กับพื้นที่ โดยเชื่อว่าพื้นที่ที่ผ่านการออกแบบมาอย่างดี จะเอื้อให้คนมีประสบการณ์ร่วมได้มากขึ้น และทำให้คนเพิ่มความเข้าใจตัวตนของตัวเองมากขึ้นไปพร้อมๆ กัน

  28. พื้นที่ที่เกิด (ทางเดินสวน) มีความต่อเนื่องในเชิงแผนผัง แต่ขาดกันในเชิงทัศนวิสัย - สถาปัตยกรรมต้องทำหน้าที่กระตุ้นการรับรู้และความทรงจำขึ้นความสวยงามในการมองเห็นจะต้อง ถูกลดเป็นเรื่องรอง ลงไป และหันมา เน้นประสบการณ์ที่คนจะมีต่อพื้นที่ เพื่อสร้างสติ + สมาธิ ขึ้นมาแทน (ex 13 วิธีต่อเนื่องกันจากประตูหน้าไปจนตัวอาคารพิธีชา)

  29. วิหารแห่งน้ำ ที่ใช้แนวคิดเรื่องพื้นที่ไร้ศูนย์ และกระจายพื้นที่ย่อยออกไปในรูปแบบทางเดิน ทำให้คนอยู่กับพื้นที่นานขึ้น และได้สร้างประสบการณ์ผ่านการเคลื่อนไหว เป็นการกระตุ้นให้คนตระหนัก ถึงย่างก้าวของตนเอง มากกว่าการใช้สายตา Clip หน่วงเวลาโดยใช้ผนังลอย และตัวผนังลอยก็เป็นเครื่องมือสร้างการรับรู้ที่หลากหลาย ผนังลอยยังเป็นการกระจายจุดศูนย์กลาง

  30. Clip การใช้ใจมอง

  31. การทำให้ “โลกปรากฏ” ในงานสถาปัตยกรรมของอันโด

  32. “การทำงานของขอบเขต”(boundary)“การทำงานของขอบเขต”(boundary) ที่เชื่อมต่อมนุษย์ และมิติธรรมชาติ ในงานสถาปัตยกรรมของอันโด

  33. “เมื่อเรามองดูอาคารที่ตั้งอยู่อย่าง สงบเรียบง่ายในตัวเอง (เชื่อมกับธรรมชาติ) ประสาทสัมผัสของเราก็เหมือนจะผ่อนคลาย ลดความตื่นตัวลง สิ่งเหล่านั้นไม่ได้พยายามจะ "บอก" อะไรเรา มันก็แค่อยู่ตรงนั้น ประสาทสัมผัสของเราเข้าสู่ความสงัด ไม่ฟุ้งซ่าน

  34. ณ ที่นี้ ในความว่างเปล่าของการรับรู้ ภาพความทรงจำอาจกลับปรากฏ ภาพความจำที่คล้ายจะ ผุดขึ้นจาก เบื้องลึกแห่งกาลเวลา...” Peter Zumthor

  35. การเปิดขอบเขต ของรูปทรงสถาปัตยกรรมเรขาคณิตที่เรียบง่าย เพื่อเชื่อมโยงกับโลก (มิติชีวิตทั้ง 4) . . . . . สิ่งที่ดูจะสมบูรณ์ในตัวเองและหยุดนิ่งเกิดการเปลี่ยนแปลง เมื่อ ความเคลื่อนไหวของธรรมชาติหรือ มนุษย์ ที่เพิ่มเติมเข้ามา

  36. การเชื่อมต่อกับผืนฟ้า ผ่าน ระเบียง และ หลังคา ในบ้านญี่ปุ่น

  37. “ในทัศนะคนญี่ปุ่น การชมพระจันทร์ เหมาะสมที่สุดเมื่อ นั่งอยู่บนระเบียง” เพราะ...

  38. ระเบียงและ กรอบหลังคา ของบ้านญี่ปุ่นทำให้เกิดกรอบทางสถาปัตยกรรมที่กำหนดมุมมองเฉพาะ ต่อธรรมชาติภายนอก (สวนญี่ปุ่น + พระจันทร์) *พื้นที่ เชื่อมต่อ นี้กลายเป็นจุดเชื่อม ระหว่าง คน และ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ในบ้านญี่ปุ่น

  39. พิพิธภัณฑ์ศิลปะจิจู - อันโดจงใจฝังตัวอาคารส่วนใหญ่ลงในภูเขาส่งผลให้พื้นที่ภายในไม่มีบริเวณภายนอก

  40. คอร์ตกลางรูปสามเหลี่ยมจึงทำหน้าที่เป็น กรอบทางสถาปัตกรรม (เช่นเดียวกับ ระเบียง และกรอบหลังคา) ที่เป็นจุดเชื่อมต่อ คนภายใน กับท้องฟ้าและแสงแดด

More Related