1 / 25

Enhanced

เราท์ติ้ง โปรโตคอลที่ปรับปรุงใหม่ของ ซิส โก้. Enhanced. Interior Gateway Routing Protocol. 12. กลไกการอัพเดทเส้นทาง การใช้ Auto-Summary การตั้งค่าพื้นฐาน การแบ่งโหลดที่ค่า Cost ไม่เท่ากัน (Unequal Cost Load Balance). 12-1. ลักษณะเด่นของ EIGRP. ลักษณะเด่น :.

brody-ayers
Download Presentation

Enhanced

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เราท์ติ้งโปรโตคอลที่ปรับปรุงใหม่ของซิสโก้เราท์ติ้งโปรโตคอลที่ปรับปรุงใหม่ของซิสโก้ Enhanced Interior Gateway Routing Protocol 12

  2. กลไกการอัพเดทเส้นทาง • การใช้ Auto-Summary • การตั้งค่าพื้นฐาน • การแบ่งโหลดที่ค่า Cost ไม่เท่ากัน (Unequal Cost Load Balance) 12-1

  3. ลักษณะเด่นของ EIGRP ลักษณะเด่น: • เป็นโปรโตคอลของซิสโก้ (Cisco Proprietary) ที่พัฒนาต่อจาก IGRP • ใช้หลักการ Distance Vector ของ IGRP เดิมมาปรับปรุงใหม่ • ใช้อัลกอริทึม Diffusing Update Algorithm (DUAL) ที่ป้องกันการวนลูป • Convergence เร็วมากที่สุด (ในบรรดา IGP) เพราะมีเส้นทางสำรอง (Feasible Successor) เตรียมไว้ใช้แทนทันที • ประกันการสื่อสารของการอัพเดทเส้นทางด้วย Reliable Transport Protocol (RTP) • รองรับการแบ่งโหลดระหว่างเส้นทางที่มี Cost ไม่เท่ากัน (Unequal Cost Load Balance) • ใช้ค่า Metric หลากหลายได้ แล้วแต่ถ่วงน้ำหนัก • (Composite Metric) 12-2

  4. เส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูงเส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูง Advance Distance Vector • ใช้อัลกอริทึม diffusing Update (DUAL) ในการคำนวณเส้นทาง Advertised Distance (Reported Distance) R2R5 = 20 เส้นทางที่บอกต่อ Local Distance ระยะถึงเพื่อนบ้าน Neighbor Table R3R5 = 15 Net Hop RD LD 5 5 R2 R5  R2 20 + 5 15 5 R5R3 15 + 5 R3 R5 R5R4 20 + 10 15 R1 20 ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด 10 Topology Table เส้นทางสำรอง R4R5 = 20 Net Hop FD* Feasible Successor ระยะถึงเพื่อนบ้าน R4 R5  R2 25 12-3 R5R3 20 Successor *FD = Feasible Distance = RD + LD เส้นทางหลัก

  5. เส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูงเส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูง Advance Distance Vector • ใช้การบอกต่อเส้นทาง โดยทบบวกค่า Metric เรื่อยๆ เหมือน Distance Vector • แต่ว่า เราท์เตอร์จะคัดเฉพาะเส้นทางที่ดีสุดของเครือข่ายๆ นั้นๆ (Successor) บอกต่อให้เราท์เตอร์ตัวอื่น • นอกจากนี้ ยังคิด Metric ของลิงค์ระหว่างตัวเองกับเพื่อนบ้านมาพิจารณาร่วมด้วย (พฤติกรรมแบบ Link State) • จึงเรียกกลไกของเราท์ติ้งโปรโตคอลแบบนี้ว่า การบอกต่อขั้นสูง (Advance Distance Vector) Advertised Distance R2R5 = 20 ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด Local Distance ระยะถึงเพื่อนบ้าน R3R5 = 15 5 5 R2 15 5 R3 R5 15 R1 20 ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด 10 R4R5 = 20 ระยะถึงเพื่อนบ้าน R4 12-4

  6. เส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูงเส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูง Advance Distance Vector • คำจำกัดความที่ควรทราบ: Advertised Distance R2R5 = 20 ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด Local Distance Advertised (Reported) Distance ระยะถึงเพื่อนบ้าน R3R5 = 15 • ค่า Cost (Metric) ที่คิดตลอดเส้นทางไปถึงเครือข่ายหนึ่ง ที่ดีที่สุด สำหรับบอกต่อให้เพื่อนบ้าน 5 5 R2 15 5 Local Distance R3 R5 • ค่า Cost (Metric) ของลิงค์ที่เชื่อมต่อระหว่างตนเองกับเพื่อนบ้าน 15 R1 20 ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด 10 Feasible Distance (FD) R4R5 = 20 • ค่า Cost (Metric) ของแต่ละเส้นทาง ตั้งแต่ตนเอง ถึงปลายทาง ที่น้อยที่สุด (เป็น Cost ของ Successor) • คิดจาก Advertised + Local Distance แล้วนำมาเทียบกัน ระยะถึงเพื่อนบ้าน R4 12-5

  7. เส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูงเส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูง Advance Distance Vector • กลไกการเลือกเส้นทาง: Advertised Distance R2R5 = 20 ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด หาเราท์เตอร์เพื่อนบ้าน Local Distance ระยะถึงเพื่อนบ้าน R3R5 = 15 5 5 R2 รับเส้นทางจากเพื่อนบ้าน หา Cost ถึงเพื่อนบ้าน 15 5 R3 R5 Local Distance Reported Distance 15 R1 20 คำนวณ Cost ของแต่ละเส้นทาง ระยะเส้นทางที่ดีที่สุด 10 R4R5 = 20 Feasible Distance (FD) ระยะถึงเพื่อนบ้าน R4 12-6 เลือกเส้นทางใช้จริง เลือกเส้นทางสำรอง Successor Feasible Successor

  8. เส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูงเส้นทางจากการบอกต่อขั้นสูง Advance Distance Vector • เส้นทาง Successor และ Feasible Successor บนเราท์เตอร์ อยู่บน TopologTable แสดงขึ้นได้โดยใช้คำสั่ง show ipeigrp topologyในโหมดอีนาเบิล Router# show ipeigrp topology IP-EIGRP Topology Table for process 77 Codes: P - Passive, A - Active, U - Update, Q - Query, R - Reply, r - Reply status P 172.16.90.0 255.255.255.0, 2 successors, FD is 46251776 via 172.16.80.28 (46251776/46226176), Ethernet0 via 172.16.81.28 (46251776/46226176), Ethernet1 via 172.16.80.31 (46277376/46251776), Serial0 Successor Feasible Successor Feasible Distance (FD) Advertised Distance (AD) 12-7

  9. ค่า Metric หลากหลาย • EIGRP แลกเปลี่ยนตัวแปรหลายตัวบนอินเตอร์เฟสขาออกของเราท์เตอร์ต้นทาง เพื่อคำนวณเป็นค่า Cost หรือ Metric ประจำเส้นทางจากเราท์เตอร์ตน ไปถึงเราท์เตอร์ปลายทาง แบ่งเป็นกลุ่มดังนี้: ตัวแปร Default • Bandwidth: จะแลกเปลี่ยนเฉพาะค่าที่น้อยที่สุด ตลอดเส้นทาง • Delay: แลกเปลี่ยนค่าผลบวกสะสมเหมือนปกติ แต่โดยดีฟอลท์จะคงที่ที่ 20,000 sec ต่อ Hop จึงขึ้นกับจำนวน Hop (Hop Count) ตัวแปรทางเลือก • ตัวแปรกลุ่มนี้ไม่ได้ถูกนำมาใช้โดยดีฟอลท์ แต่เราสามารถเลือกนำมาใช้ได้โดยเปลี่ยนค่าตัวแปรถ่วงน้ำหนัก (ค่า K) ประจำตัวแปรนั้นๆ • ได้แก่ Load และ Reliability 12-8

  10. ค่า Metric หลากหลาย • สูตร Metric มาตรฐานของ EIGRP ที่นำตัวแปรดังกล่าวมาคำนวณ คือ Metric= K1*Bandwidth + K2*Bandwidth + K3*Delay * K5 256 - Load Reliability+K4 • โดยค่าถ่วงน้ำหนักดีฟอลท์ ได้แก่ K1 = K3 = 1และ K2 = K4 = L5 = 0 จะได้ว่า Metric = Bandwidth + Delay • หรือเป็นสูตรทางคณิตศาสตร์ว่า: n Metric = 107 Delay  + x 256 R1  Rn BW น้อยที่สุด (หน่วย x10 sec) n = 1 (หน่วย kbps) 12-9 *R1  Rnคือ คิดตั้งแต่เราท์เตอร์เจ้าของเครือข่ายเส้นทางนี้ (R1) ถึงเราท์เตอร์ปัจจุบัน (Rn)

  11. ค่า Metric หลากหลาย T1 = 1.544 Mbps • คำนวณจาก R1  R5 (10.1.5.0/24) E1 = 2.048 Mbps Gi0 1. หาตัวแปรที่ R1 ได้รับ R2 • เส้นทาง R1  R2  R3  R5 • BW น้อยที่สุด = 1.544 Mbps • Delay รวม = 3 x 20,000 sec • 10 sec 10.1.5.0/24 R3 R5 R1 E1 = 2.048 Mbps • เส้นทาง R1  R4  R5 • BW น้อยที่สุด = 2.048 Mbps • Delay รวม = 2 x 20,000 sec • 10 sec Fa0 *ทุกเราท์เตอร์ ไม่มีการเปลี่ยนค่าดีเลย์จากดีฟอลท์(20,000 sec) สรุป: เส้นทางที่ดีที่สุดคือ R1R4R5 มี Metric = 2,274,031 2. หา Metric • เส้นทาง R1  R2  R3  R5: = {(107/(1.544 Mbps x 1 kbps/0.001 Mbps)) + (3 x 2,000)} x 256 =3,194,031 R4 12-8 • เส้นทาง R1  R4  R5: = {(107/(2.048 Mbps x 1 kbps/0.001 Mbps)) + (2 x 2,000)} x 256 =2,274,031

  12. การติดต่อเพื่อนบ้าน router eigrp100 network x.x.x.x network z.z.z.z router eigrp100 network x.x.x.x network y.y.y.y • EIGRP ติดต่อกับเพื่อนบ้านทางมัลติคาสต์224.0.0.10 ซึ่งไม่ต้องใช้ค่า Hello Time ที่ตรงกันเหมือนโปรโตคอลอื่น แต่จะใช้ค่าดังต่อไปนี้: • เลขกลุ่มเราท์เตอร์(Autonomous System No.) ต้องตรงกัน จึงจะยอมแลกเปลี่ยนข้อมูลเส้นทางซึ่งกันและกัน • ระบุอยู่ท้ายคำสั่งเปิดใช้ EIGRP: Router(config)# router eigrpxxx • ค่าถ่วงน้ำหนักเมทริกซ์(ค่า K) ต้องตรงกัน เนื่องจากจำเป็นที่เราท์เตอร์ภายในกลุ่มที่ต้องคำนวณค่า Cost เป็นในแนวทางเดียวกัน R1 R2 12-11

  13. กลไกป้องกันวนลูป • เนื่องจากยังมีพฤติกรรมของ Distance Vector จึงต้องมีกลไกป้องกันการวนลูปของเส้นทาง ดังนี้ • Poison Reverse: ส่งข้อมูลเครือข่ายที่เข้าถึงไม่ได้แล้ว ด้วยค่า Metric ที่ใช้ค่า Delay สูงสุดที่สุด (0xFFFFFFFF) • Split Horizon: ห้ามไม่ให้ส่งข้อมูลเส้นทางของเครือข่ายเดิม ออกทางอินเตอร์เฟสที่เคยรับข้อมูลของเส้นทางเครือข่ายนี้เข้ามา • ตามอัลกอริทึม DUAL: โดยจะเลือกเส้นทางนั้นใหม่เมื่อค่า RD >= FD • เพราะค่า FD จะคงที่หลังจากเลือกเส้นทางหลัก (Successor) • แต่ยังรับค่า RD จากเพื่อนบ้านมาอัพเดทอยู่ตลอดเวลา • ดังนั้น เมื่อค่า RD สูงจนเกินกว่าค่า FD ที่คำนวณตอนแรก แสดงว่าเส้นทางดังกล่าวมีปัญหา ต้องรัน DUAL ใหม่ 12-12

  14. การอัพเดทเส้นทางเป็นระบบการอัพเดทเส้นทางเป็นระบบ ด้วย DUAL Topology Table รายการของทุกเส้นทางที่ได้รับ Net Hop FD* RD Net Hop FD* RD Successor R5R3 20 25 < R5R3 20 25 < เส้นทางหลัก Loop! Successor R5  R2 25 20 R5  R2 25 20 เส้นทางสำรอง Feasible Successor R5  R4 30 20 Feasible Successor R5  R4 30 20 คำนวณ DUAL แล้ว ไม่เปลี่ยน ยังรับอัพเดทจากเพื่อนบ้านเรื่อยๆ • อัลกอลิทึม Diffusing Update (Query) ต่างจาก Distance Vector ทั่วไป ตรงที่ บันทึกทุกเส้นทางเก็บไว้ในตาราง Topology • ไว้คอยเลือกเส้นทางใหม่อย่างรวดเร็ว เมื่อพบว่าเส้นทางหลักไม่ใช่เส้นทางที่ดีที่สุด และวนลูป (RD >= FD) • เมื่อหาเส้นทางที่ไม่วนลูปไม่ได้อีก ถึงจะรัน DUAL ใหม่ทั้งหมดอีกครั้ง 12-13

  15. การตั้งค่า EIGRP • ตั้งค่าเปิดใช้ EIGRP บนเราท์เตอร์ โดยกำหนด AS no. ข้างท้ายให้ตรงกับเราท์เตอร์ตัวอื่น • Router(config)# router eigrp(เลข AS) • ใส่คำสั่ง no auto-summary เพื่อไม่ให้ Summarize เส้นทางอื่น ป้องกันปัญหาที่เกิดจากการรวมเครือข่ายที่ไม่ได้อยู่ต่อเนื่องกัน (Discontiguous Network)*** • Router(config-router)# no auto-summary • ตั้งค่าเปิดใช้บนอินเตอร์เฟสที่ต้องการ ด้วยคำสั่ง network (network ID) ซึ่งรองรับสองแบบ • แบบ network (network ID แบบ Classful)เหมือน RIP • แบบ network (network ID) (wildcard mask) เหมือน OSPF ถ้าต้องการเลือกอินเตอร์เฟสให้ละเอียดระดับ Classless 12-14

  16. การตั้งค่า EIGRP การตั้งค่าแบบ Classful • ไม่ใช่การเลือกกลไกการทำงานว่าจะส่งข้อมูลเครือข่ายเป็น Classfulแต่เป็นการเลือกอินเตอร์เฟสที่มีเครือข่ายเป็นซับเซ็ตของเลขที่ประกาศนี้ (เหมือนกรณี RIPv2) EIGRP AS 100 S1 10.1.1.2/30 S0 10.1.1.1/30 Fa0 192.168.2.1/24 Fa0 192.168.1.1/24 router eigrp 100 network 192.168.1.0 network 10.0.0.0 no auto-summary router eigrp 100 network 192.168.2.0 network 10.0.0.0 no auto-summary R1 R1 12-15

  17. การตั้งค่า EIGRP การตั้งค่าแบบระบุ Wildcard • สำหรับเลือกอินเตอร์เฟสละเอียดระดับ Classless เช่น จะไม่เปิดใช้บนอินเตอร์เฟสที่คนละเครือข่ายแบบ Classless EIGRP AS 100 ไม่ต้องการเปิดใช้ EIGRP as 100 ออกทางอินเตอร์เฟสนี้ S1 10.1.1.5/30 EIGRP AS 100 S1 10.1.1.2/30 S0 10.1.1.1/30 Fa0 192.168.2.1/24 Fa0 192.168.1.1/24 router eigrp 100 network 192.168.1.0 0.0.0.255 network 10.1.1.0 0.0.0.3 no auto-summary router eigrp 100 network 192.168.2.0 0.0.0.255 network 10.1.1.0 0.0.0.3 no auto-summary R1 R1 12-16

  18. การทวนสอบการตั้งค่า • ตรวจสอบว่าเราท์เตอร์ใช้ EIGRP เป็นเราท์ติ้งโปรโตคอล • Router# show ip protocols • ตรวจสอบว่าบนตารางเส้นทาง มีเส้นทางที่อัพเดทมาจาก EIGRP แล้ว • Router# show ip route (eigrp) • ตรวจสอบว่า EIGRP ถูกเปิดใช้บนอินเตอร์เฟสใดบ้าง • Router# show ipeigrp interfaces Router# show ipeigrp interfaces IP EIGRP interfaces for process 109 Xmit Queue    Mean   Pacing Time   Multicast   Pending Interface   Peers   Un/Reliable   SRTT   Un/Reliable   Flow Timer  Routes S0             0         0/0           0       11/434          0          0 Fa0           1         0/0         337       0/10            0          0 12-17

  19. การทวนสอบการตั้งค่า • ตรวจสอบว่าเราท์เตอร์เพื่อนบ้านที่ติดต่อกันได้ • Router# show ipeigrp neighbors Router# show ipeigrp neighbors IP-EIGRP Neighbors for process 77 Address Interface Holdtime Uptime Q Seq SRTT RTO (secs) (h:m:s) Count Num (ms) (ms) 172.16.81.28 Ethernet1 13 0:00:41 0 11 4 20 172.16.80.28 Ethernet0 14 0:02:01 0 10 12 24 172.16.80.31 Ethernet0 12 0:02:02 0 4 5 20 12-18

  20. การทวนสอบการตั้งค่า • ตรวจสอบ Successor และ Feasible Successor ในตาราง Topology • Router# show ipeigrp topology Router# show ipeigrp topology IP-EIGRP Topology Table for process 77 Codes: P - Passive, A - Active, U - Update, Q - Query, R - Reply, r - Reply status P 172.16.90.0 255.255.255.0, 2 successors, FD is 46251776 via 172.16.80.28 (46251776/46226176), Ethernet0 via 172.16.81.28 (46251776/46226176), Ethernet1 via 172.16.80.31 (46277376/46251776), Serial0 P 172.16.81.0 255.255.255.0, 2 successors, FD is 307200 via Connected, Ethernet1 via 172.16.81.28 (307200/281600), Ethernet1 via 172.16.80.28 (307200/281600), Ethernet0 via 172.16.80.31 (332800/307200), Serial0 Successor Feasible Successor Successor Feasible Successor 12-19 *ด้วยคำสั่งนี้ จะแสดงแค่ Successor และ Feasible Successor ต่อเครือข่าย

  21. ปัญหาการ Summarize บน Discontiguous Network 192.168.0.0/24 การ Summarize ที่ควรเป็น Route Summarization _.0/27 _.0/26 192.168.0.0/28 _.16/28 _.32/27 _.64/26 • การรวมเส้นทาง เหมาะกับการแบ่งซับเน็ตที่มีความต่อเนื่องกัน • เช่น /24  /25  /26  /27 ช่วยประหยัดการประมวลผล • เรียกลักษณะเครือข่ายที่แบ่งต่อเนื่องกันว่า Contiguous Network R2 R4 R1 R3 12-20

  22. ปัญหาการ Summarize บน Discontiguous Network D 192.168.0.0/24 is a summary, 00:23:20, Serial 0 การ Summarize ที่ควรเป็น ฟีเจอร์ Auto-Summary _.0/27 _.0/26 S0 192.168.0.0/28 _.16/28 _.32/27 _.64/26 • EIGRP มีฟีเจอร์ที่ Summarize เส้นทางอัตโนมัติ เรียกว่า Auto-Summary • ทำงานโดย ไม่ส่ง Subnet Maskจึงรวมเครือข่ายในลักษณะ Classful • ฟีเจอร์นี้ถูกทำงานอัตโนมัติอยู่โดยดีฟอลท์ R2 R4 R1 R3 12-21

  23. ปัญหาการ Summarize บน Discontiguous Network การ Summarize ที่ควรเป็น Discontiguous Network 10.0.0.0/30 192.168.0.128/25 192.168.0.0/25 192.168.0.0 ? 192.168.0.0 ? D 192.168.0.0/24 is a summary, 00:13:00, Null 0 *Null 0 คืออินเตอร์เฟสที่สร้างขึ้นสำหรับ ดรอปแพ๊กเก็ต • ถ้าพบการแบ่งซับเน็ตแบบไม่ต่อเนื่อง (Discontiguous) การ Summarize เส้นทางอัตโนมัติจะทำให้ไม่สามารถหาทางออกได้ กลายเป็นเส้นทางตัน • จึงแนะนำให้ปิดฟีเจอร์นี้ด้วย:Router(config-router)# no auto-summary R1 R1 12-22

  24. การแบ่งโหลด Cost ไม่เท่ากัน Unequal Cost Load Balance • EIGRP เปิดใช้ฟีเจอร์ที่แบ่งโหลดโดยดีฟอลท์ระหว่างเส้นทางที่มีค่า Cost น้อยที่สุด บนแต่ละเครือข่ายปลายทาง (Successor) เหมือน OSPF • ค่าดีฟอลท์คือ แบ่งได้ 4 เส้นทาง และเพิ่มเส้นทางได้สูงสุดถึง 16 เส้นทาง • แต่ EIGRP ให้สามารถแบ่งโหลด (Load Balance) ได้บนเส้นทางที่มี Cost ไม่เท่ากันได้ • โดยให้สมมติค่า Cost กลางที่เกิดจากการคูณค่า Feasible Distance (Cost ของ Successor) ด้วยตัวคูณที่ตั้งค่า (Multiplier) เพื่อกำหนดว่า เส้นทางใดที่มีค่า Cost ต่ำกว่า Cost กลางที่คูณด้วย Multiplier จะนำมาใช้แบ่งโหลด • ค่า Multiplier ดีฟอลท์เป็น 1 (คือแบ่งโหลดเฉพาะระหว่าง Successor ด้วยกัน) 12-23

  25. การแบ่งโหลด Cost ไม่เท่ากัน Unequal Cost Load Balance • ตั้งค่า Multiplier ได้โดยใช้คำสั่ง varience(multiplier) เช่น • Router(config-router)# varience2 การ Summarize ที่ควรเป็น ตัวอย่าง Net Hop FD Adver. D 5 5 R2 แบ่งโหลด R5R3 20 15 15 5 แบ่งโหลด R5  R2 25 20 R3 R5 R5  R4 45 30 15 R1 30 • กำหนดค่า Multiplier = 2 จะได้ค่า Cost กลาง = FD x 2 = 20 x 2 = 40 • พิจารณาจากตาราง Topology จึงพบเส้นทางที่แบ่งโหลดได้ 2 ทาง: • R5  R3 มี Cost = 20 < FD x 2 • R5  R2 มี Cost = 25 < FD x 3 15 R4 12-24

More Related