1 / 80

หมอกควัน ผลกระทบต่อสุขภาพ

หมอกควัน ผลกระทบต่อสุขภาพ. นายแพทย์จรัส สิงห์แก้ว ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสารภี. แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น. แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น. เผาป่า ทำร้ายตนเอง และ เพื่อนร่วมโลก. จุดเผาในพื้นที่ต่างๆ สัมพันธ์กับค่าละอองฝุ่น PM10. เชียงใหม่. ลำปาง. ลำพูน. ทางเดินของมนุษย์ สู่ มลพิษในอากาศ.

Download Presentation

หมอกควัน ผลกระทบต่อสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หมอกควัน ผลกระทบต่อสุขภาพ นายแพทย์จรัส สิงห์แก้ว ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสารภี

  2. แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้นแหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น

  3. แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้นแหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น

  4. เผาป่า ทำร้ายตนเอง และ เพื่อนร่วมโลก

  5. จุดเผาในพื้นที่ต่างๆ สัมพันธ์กับค่าละอองฝุ่นPM10 เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน

  6. ทางเดินของมนุษย์ สู่ มลพิษในอากาศ เกษตร เผา โรงงานปล่อยมลพิษ บ้าน IPCC (2005)

  7. สารพิษจากหมอกควัน PM2.5/PM10, NOx, SOx, Ozone, Dioxin, etc.รวมทั้งก๊าซเรือนกระจก

  8. วิกฤตหมอกควันทำให้เจ็บป่วยกาย-จิตใจ และเศรษฐกิจซบเซา

  9. ปัญหาหมอกควัน • หมอก คือปรากฎการณ์เมื่อความชื้นในอากาศเข้าใกล้ระดับ 100% เกิดการควบแน่นในระดับใกล้พื้นดิน

  10. ปัญหาหมอกควัน • หมอกควัน (Haze, Smog) • หมอกควัน คือปรากฎการณ์ที่ฝุ่น ควัน และอนุภาคแขวนลอยในอากาศ รวมตัวกันในสภาวะที่อากาศปิด

  11. ปัญหาหมอกควัน • Haze (ฟ้าหลัว) มักหมายถึงหมอกควันจากการเกษตร การก่อสร้าง มักเป็นอนุภาคของฝุ่น ควัน ขี้เถ้า- Smog (Smoke + Fog) มักหมายถึงหมอกควันมีพิษจากอุตสาหกรรม ยานพาหนะ เครื่องจักรกล

  12. ส่วนประกอบของหมอกควันในภาคเหนือคือส่วนประกอบของหมอกควันในภาคเหนือคือ • 1) ขี้เถ้าของสารอินทรีย์ จากการเผาหญ้า ใบไม้ ไฟป่า ขยะอื่นๆ2) ควันจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในรถยนต์ โดยเฉพาะรถยนต์ดีเซล (และรถอื่น) ที่เครื่องยนต์ไม่สมบูรณ์

  13. สารมลพิษทางอากาศ แบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. อนุภาคต่างๆ (Particulates) “ อนุภาคที่เป็นของแข็งล่องลอยในอากาศที่อยู่หลายชนิดและหลายขนาด ” 2. ก๊าซและไอระเหย เป็นสารที่มีอยู่ในสถานะก๊าซ รวมทั้งไอต่างๆ ซึ่งฟุ้งกระจาย ในอากาศ ได้แก่

  14. สารพิษในบรรยากาศ • โอโซน(O3) • คาร์บอนมอนอกไซด์(CO) • ไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) • ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) • สารอนุภาคละอองฝุ่น(PM-10 and PM-2.5) • ตะกั่ว(Pb)

  15. 1) ออกไซด์ของคาร์บอน คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) รวมตัวกับ ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด คาร์บอกซี่ฮีโมลโกลบินรวมตัวได้มากกว่าออกซิเจน 200-250 เท่า คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซเสียที่เซลล์ร่างกายไม่ต้องการ

  16. ผลกระทบจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ผลกระทบจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ • ทำให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดภาวะขาดก๊าซออกซิเจน เช่น สมองหากได้รับก๊าซออกซิเจนไม่เพียงพอมีผลกระทบกระเทือนถึงระบบประสาทส่วนกลางเกิดอาการของพิษคาร์บอนมอนอกไซด์ คือ มีอาการง่วงซึม ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย วิงเวียน หน้ามืด ตาลายตามัว สายตาพร่า ความจำเสื่อม รู้สึกเฉื่อยชา การเห็นการได้ยินเสื่อมไป มึนงงเป็นลม ชัก คลื่นไส้อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เจ็บหน้าอก ออกซิเจนในเลือดลดต่ำลงทำให้หมดสติ และอาจถึงตายได้

  17. ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณคาร์บอกซีฮีโมโกลบินอิ่มตัวในเลือด กับอาการของคนปกติ

  18. 2) ออกไซด์ของซัลเฟอร์ (SOx) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3) ก๊าซทั้งสองนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคือง เกิดจาก การเผาไหม้ของกำมะถัน การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงต่างๆเช่น ถ่านหิน น้ำมัน มีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถละลายน้ำได้ดี มีฤทธิ์เป็นกรด

  19. ผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ • ทำให้เกิดอาการระคายเคืองบริเวณผิวหนัง มีอาการแสบตา แสบจมูก นัยน์ตาอักเสบ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และทำลายเนื้อเยื่อปอดอาจกลายเป็นมะเร็งปอดได้ ถ้าออกไซด์ของ ซัลเฟอร์เจือปนในฝุ่นละอองบางชนิด เช่น ละอองของเหล็ก แมงกานีส วานาเดียม จะทำให้อันตรายที่เกิดขึ้นทวีความรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากฝุ่นละอองจะทำให้ออกไซด์ของซัลเฟอร์สามารถเข้าสู่ทางเดินหายใจได้ลึกมากขึ้น และตกค้างอยู่ในปอดได้นานขึ้น ถ้าสูดซัลเฟอร์ไดออกไซด์เข้าไปมากถึงขนาด อาจทำให้กล้ามเนื้อฝาปิดกล่องเสียง เกิดอาการกระตุก หดเกร็งทางเดินลมหายใจ ทำให้ตายได้

  20. ผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระยะยาวผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระยะยาว

  21. 3) ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ไนโตรเจนออกไซด์ (NO) เป็นก๊าซที่เกิดจากการเผาไหม้ มักเกิดจากเครื่องยนต์ใหม่ ถ้าเกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์มาก ก็จะมีคาร์บอนมอนอกไซด์น้อย ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เป็นก๊าซที่มีสีน้ำตาลอมเหลืองทำให้เกิดหมอกควันเป็นก๊าซพิษ ไนตรัสออกไซด์ (N2O) มีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่า ก๊าซหัวเราะ เป็นก๊าซที่สามารถดูดซับความร้อนได้ถึง 200 เท่า

  22. ผลกระทบจากไนตริกออกไซด์ผลกระทบจากไนตริกออกไซด์ • ก๊าซไนตริกออกไซด์ NO เมื่อเข้าไปในปอด จะกลายเป็น ไนโตรซามีน ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งที่ปอดได้ ทำลายเนื้อเยื่อปอด และทำให้ทางเดินหายใจอักเสบ • ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ทำให้เกิดอาการแสบคอ แสบจมูก และแสบตาได้ ถ้าได้รับเป็นระยะเวลานานจะเกิดอาการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ จะมีอาการบวมของเนื้อเยื่อในหลอดลมตอนบน และจะลุกลามถึงหลอดลมส่วนลึกในระบบจนถึงมีอาการปวดบวม และถ้าในอากาศมีปริมาณความเข้มข้นถึง 100 พีพีเอ็ม. จะหายใจไม่ออก ระบบหายใจล้มเหลวจนอาจเสียชีวิตได้

  23. 4) ไฮโดรคาร์บอน ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์โดยตรง รวมตัวกับไนโตรเจนออกไซด์โดยมีแสงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่าปฏิกิริยาโฟโตเคมิคัลหรือ ปรากฏการณ์หมอกพิษ 5) โอโซน ถ้าบริเวณอากาศที่เราหายใจมีก๊าซโอโซนมากถึงระดับ 0.1 พีพีเอ็มจะก่อให้เกิดความระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ

  24. โอโซนทำให้เกิด • การระคายเคืองทางเดินหายใจ • ปอดเสื่อมหน้าที่ หายใจติดขัด • กระตุ้น ทำให้โรคหอบหืดกำเริบ • ทำลายเซลล์เยื่อบุในปอด • กระตุ้นโรคปอดเรื้อรัง ทำลายภูมิต้านทานทางเดินหายใจทำให้ติดเชื้อง่าย

  25. 6. PM-10 หรือพีเอ็ม10คือ ฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก (Particulate Matter) ที่มีอนุภาคเล็กกว่า 10 ไมครอน • ถ้าเกิน 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จะมีผลต่อสุขภาพและระบบทางเดินหายใจ

  26. พีเอ็ม 10 (10 ไมครอน) พีเอ็ม 2.5 (2.5 ไมครอบ) เทียบฝุ่นพีเอ็ม – 10 กับเส้นผม เส้นผมภาพตัดขวาง (60 ไมครอน) เส้นผมมนุษย์

  27. อะไรคือ พีเอ็ม2.5? เส้นผม เม็ดทรายที่ละเอียดที่สุด อันตรายต่อสุขภาพขึ้นอยู่กับขนาดของฝุ่น ยิ่งเล็กยิ่งอันตราย และสามารถลอยอยู่ในอากาศได้นานนับสัปดาห์. British Columbia Ministry of the Environment

  28. เส้นผมคนขยาย1,000เท่า

  29. เปรียบเทียบขนาดของสารและเซลล์เปรียบเทียบขนาดของสารและเซลล์ เม็ดเลือดแดง เซลล์ โครโมโซม ไวรัส แบคทีเรีย เส้นผม สาร PM10 สารPM10 - 2.5 สารPM2.5

  30. แหล่งของฝุ่นขนาดเล็ก การขับของเสียออกมาโดยตรง จากยานพาหนะ การเผา จากปฏิกิริยาของกลุ่มสารตัวทำละลายอินทรีย์รวมตัวกับแอมโมเนียและของเสียจากการเผาไหม้น้ำมันทำให้เกิดฝุ่นขนาดเล็ก

  31. แหล่งกำเนิด พีเอ็ม-10

  32. ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI)เป็นการรายงานข้อมูลที่ง่ายต่อการสร้างความเข้าใจของประชาชนเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ • แบ่งความรุนแรงได้ 5 ระดับ

  33. คุณภาพอากาศAir Quality Index (AQI) คำนวณจากค่าเฉลี่ยของ • โอโซน ground-level ozone • ฝุ่นขนาดเล็กparticulate matter • คาร์บอนมอนนอกไซด์ carbon monoxide • ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ sulfur dioxide • ไนโตรเจนไดออกไซด์ nitrogen dioxide

  34. ระดับความรุนแรง

  35. ปัญหาหมอกควัน • ลักษณะภูมิประเทศที่เอื้อให้เกิดหมอกควันปกคลุม ได้แก่ พื้นที่แอ่งกระทะ หรือพื้นที่ปิดระหว่างหุบเขา

  36. จุดที่ละอองฝุ่นเดินทางเข้าสู่ร่างกาย?จุดที่ละอองฝุ่นเดินทางเข้าสู่ร่างกาย? ระยะที่ 1 (5-9) ระยะที่ 2 (5-6) ระยะที่ 3 (4-5) ระยะที่ 4 (2-3) ระยะที่ 5 (1-2) ระยะที่ 6 (0.5-1) (ขนาดเส้นฝ่าศูนย์กลางเป็นไมครอน)

  37. ระบบหายใจของมนุษย์ Fig. 15-14a, p. 360

  38. ถุงลม Bronchiole Alveolar duct Alveolar sac (sectioned) Alveoli Fig. 15-14c, p. 360

  39. อนุภาคเล็กๆสามารถทะลุผ่านถุงลมได้อนุภาคเล็กๆสามารถทะลุผ่านถุงลมได้

  40. ผลกระทบต่อปอด • ปอดอักเสบและเซลล์บาดเจ็บ • การทำหน้าที่ของปอดเสื่อมลง • เพิ่มปฏิกิริยาภูมิแพ้ของทางเดินหายใจ • อาการทางระบบทางเดินหายใจเพิ่ม • หอบหืดกำเริบ • เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ EPA, PM Criteria Document 11/04

  41. สารพี เอ็ม กับผลกระทบที่ปอด • อาการที่พบได้: • ระคายเคืองทางเดินหายใจ; • ไอ; • เสมหะติดคอ; • ปอดทำงานลดลง; • ภาวะทางเดินหายใจอักเสบ; • หอบหืดกำเริบ; และ • อาการหลอดลมอักเสบเรื้อรัง

  42. ปอดดี และ ปอดเป็นโรค Fig. 15-15, p. 360

  43. สารกลุ่มรีแอคทีพออกซิเจนและรีแอคทีพไนโตรเจนจากสารพีเอ็ม-10  การอักเสบเฉียบพลันของระบบต่างๆ, ลดปฏิกิริยาใช้ออกซิเจน, เกิดการเคลื่อนย้ายของเกล็ดเลือดและเยื่อบุหลอดเลือด, โดยเกล็ดเลือดและเม็ดเลือดขาวรวมตัวเกาะที่ผนังหลอดเลือดก้อนพังผืดและไขมันที่ผนังหลอดเลือดไม่เสถียรและแตก. หลอดเลือดอุดตันเรื้อรัง. พีเอ็ม ทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด Adherence andentry of white blood cells Vascular smooth muscle cell migration Adherence andaggregation of platelets Foam-cellformation Inflammatory cell activation

  44. ผลต่อระบบหัวใจ • ทำให้ • อัตราการเต้นหัวใจเร็ว หรือ ช้ากว่าปกติ • หัวใจเต้นผิดจังหวะ • การเต้นหัวใจไม่สม่ำเสมอ ขึ้นกับช่วงเวลาที่สัมผัสฝุ่น • ความดันโลหิตสูง • เลือดแข็งตัว เกาะกันเป็นลิ่ม • การอักเสบของเส้นเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ • ผู้มีโรคหัวใจหรือปอดอยู่แล้วจะได้รับผลกระทบมาก EPA, PM Criteria Document, 2004

  45. สารพี เอ็ม กับ โรคหัวใจ องค์ประกอบของเลือดเปลี่ยนแปลงนำไปสู่การแข็งตัวเป็นลิ่มเลือดง่าย ทำให้เส้นเลือดหัวใจอุดตัน ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและเสียชีวิตได้

More Related