1 / 47

แนวการนำเสนอ เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Dr. Jamnean Joungtrakul (DBA) President

แนวการนำเสนอ เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Dr. Jamnean Joungtrakul (DBA) President and CEO, BLCI GROUP and Senior Industry Fellow, Graduate School of Business, Curtin University, Australia 3300/71, 11th Floor, Tower B,Elephant

brinda
Download Presentation

แนวการนำเสนอ เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Dr. Jamnean Joungtrakul (DBA) President

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวการนำเสนอ เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Dr. Jamnean Joungtrakul (DBA) President and CEO, BLCI GROUP and Senior Industry Fellow, Graduate School of Business, Curtin University, Australia 3300/71, 11th Floor, Tower B,Elephant Tower Paholyothin Road, Chompol, Chatuchack, BKK 10900 Tel 02-937-3773 Fax 02-937-3770 Email: drjj@hotmail.co.th Website: www.blcigroup.com

  2. ASEAN (2510) = สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ = Association of South East Asia Nations สมาชิกเดิม : บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย สมาชิกใหม่ : กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม (CLMV)

  3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community

  4. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค 2. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค 3. ใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค เป้าหมาย : มุ่งสู่การเป็น ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

  5. พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (2015) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) ตารางดำเนินการ Strategic Schedule

  6. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community ประกอบด้วย 1. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน   (ASEAN Social and Cultural Community)

  7. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมา 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area, AFTA) • ลงนามโดย นายกฯ อานันท์ ปันยารชุน เริ่มใช้ปี 2536 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services, AFAS) • ลงนามโดย นายอำนวย วีรวรรณ เริ่มใช้ 2539 3. เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area, AIA) • ลงนามโดย นายศุภชัย พานิชย์ภักดิ์ เริ่มใช้ ปี 2541

  8. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community AFTA= ASEAN Free Trade Area (เขตการค้าเสรีอาเซียน) จัดตั้งขึ้นตาม ความตกลงว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากันสำหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน [Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA)]

  9. หลักการและวัตถุประสงค์หลักการและวัตถุประสงค์ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในตลาดโลกโดยอาศัยการเปิดเสรีด้านการค้าและการลดภาษีและอุปสรรคข้อกีดขวางทางการค้าที่มิใช่ภาษี รวมทั้งการปรับเปลี่ยนโครงสร้างภาษีศุลกากร 2. ระบบ CEPT (Common Effective Preferential Tariff Scheme) ซึ่งกำหนดให้ประเทศสมาชิกให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแบบต่างตอบแทน

  10. หลักการและวัตถุประสงค์หลักการและวัตถุประสงค์ 3. มาตรการทางด้านภาษี 3.1 ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศลดภาษีสินค้าในบัญชี Inclusion List (IL) ให้เหลือ 0-5% ภายใน 1 มกราคม ค.ศ.2003 และจะลดให้เป็น 0 % ภายในปี ค.ศ. 2010 3.2 ประเทศสมาชิกใหม่จะพยายามลดภาษีลงเหลือ 0-5% ให้ มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ในปี 2006 สำหรับเวียดนาม; ปี 2008 สำหรับ ลาว และพม่า; และปี 2010 สำหรับกัมพูชา

  11. หลักการและวัตถุประสงค์หลักการและวัตถุประสงค์ 3. มาตรการทางด้านภาษี (ต่อ) 3.3 ประเทศสมาชิกเดิมจะลดภาษีลงเหลือ 0% ทุกรายการ ใน IL ภายในปี 2010 และภายในปี 2015 สำหรับสมาชิกใหม่ 3.4 9 สาขาหลัก คือ เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์ ยาง สิ่งทอ ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ

  12. หลักการและวัตถุประสงค์หลักการและวัตถุประสงค์ 3. มาตรการทางด้านภาษี (ต่อ) 3.5 สำหรับบัญชียกเว้นภาษีชั่วคราว (Temporary Exclusion List: TEL) บัญชีอ่อนไหว (Sensitive List: SL) และบัญชีอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List: HSL) ซึ่งมีกำหนดเวลาการลดภาษีที่แตกต่างกัน ส่วน บัญชียกเว้นทั่วไป (General Exclusion List: GE) เป็น สินค้าที่แต่ละประเทศไม่สามารถนำมาลดภาษีได้ (ไทยและสิงคโปร์ที่ไม่มี GE)

  13. มุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2546 ผู้นำอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ์การนำอาเซียนไปสู่ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community)ในปี 2020 (2563) ปี 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู เร่งรัดการเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”ให้เร็วขึ้น เป็นปี 2015 (2558) ปี 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprintแผนงานการจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) เมื่อ พฤศจิกายน 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน “ASEAN Charter” และ “ปฏิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ร่วมกันดำเนินการให้สำเร็จตามกำหนดในปี 2558

  14. แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint วัตถุประสงค์ 4 ด้าน ตลาดและ ฐานการผลิตร่วม สร้างเสริมขีดความ สามารถการแข่งขัน ลดช่องว่าง ความแตกต่าง บูรณาการเข้ากับ เศรษฐกิจการค้าโลก --- แผนงาน ------ ส่งเสริมการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี โดยลด อุปสรรคในด้านต่างๆ ---- แผนงาน ------- ส่งเสริมขีด ความสามารถในด้าน ต่างๆ เช่น นโยบาย การแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา e-commerce ฯลฯ • ---แผนงาน ----- • ส่งเสริมการ รวมกลุ่มของประเทศ สมาชิก • ลดช่องว่าง/ความ แตกต่างของระดับ การพัฒนาระหว่าง สมาชิกเก่าและใหม่ • --- แผนงาน --- • ส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับ ประชาคมโลก • ปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาค • สร้างเครือข่ายการ ผลิต/จำหน่าย

  15. แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint • เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี • เคลื่อนย้ายบริการเสรี • เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี • เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี • เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี

  16. ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT ยกเว้นสินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง <5% ไทย มี 4 รายการ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรั่ง กาแฟ สินค้าในHighly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  17. ปี 2558 ยกเลิกทั้งหมด ปี 2553 ปี 2555 อาเซียน 5 ยกเลิกทั้งหมด ฟิลิปปินส์ ยกเลิกทั้งหมด ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม 1.เปิดเสรีการค้าสินค้า ขจัดมาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี เช่น การใช้โควตาภาษี, การออกใบอนุญาตนำเข้า , การอนุญาตให้หน่วยงานเฉพาะสามารถนำเข้าได้

  18. ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs ยกเลิกเป็นระยะ NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกใน1มค.2551 (2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552 (2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  19. ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) 2.เปิดเสรีด้านบริการ ให้นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นในธุรกิจบริการต่างๆ ลอจิสติกส์ สาขาอื่น

  20. ประเภทการค้าบริการ 12 สาขา • บริการด้านธุรกิจ • บริการด้านสื่อสารคมนาคม • บริการด้านการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง • บริการด้านการจัดจำหน่าย • บริการด้านการศึกษา • บริการด้านสิ่งแวดล้อม

  21. ประเภทการค้าบริการ 12 สาขา (ต่อ) • บริการด้านการเงิน • บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม • บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง • บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา • บริการด้านการขนส่ง • บริการอื่นๆ

  22. 3. เปิดเสรีลงทุน • ให้การปฏิบัติเยี่ยงคนในชาติแก่นักลงทุนอาเซียน • การดำเนินงานตามความตกลงด้านการลงทุนฉบับใหม่ของอาเซียน (ACIA) 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน

  23. 5. ความร่วมมือสาขาอื่นๆ • ด้านเกษตร อาหารและป่าไม้ • ด้านทรัพย์สินทางปัญญา • การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน(คมนาคม ITCพลังงาน) • ด้านเหมืองแร่ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ด้านการเงิน • SMEs

  24. ASEAN Community ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Political-Security Community (ASC) 2010 ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC)

  25. ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการและการลงทุน ตลาดขนาดใหญ่ • ประชากรกว่า 570 ล้านคน • Economy of Scale • ดึงดูดการค้าการลงทุนจากภายนอกอาเซียน

  26. ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ • ได้ประโยชน์จากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน • วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าต่ำลง ขีดความสามารถแข่งขันสูงขึ้น • เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานที่ผลิตที่ได้เปรียบที่สุด กลุ่มที่มีความถนัด ด้านเทคโนโลยี กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต กลุ่มที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย

  27. เพิ่มอำนาจการต่อรอง • 10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว • แนวร่วมในการเจรจาต่อรอง • โดยเฉพาะกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ

  28. ให้ประโยชน์ที่มากขึ้น กว่า FTAทวิภาคีของไทยกับประเทศคู่ค้า โดยการใช้แหล่งกำเนิดสินค้าสะสมในอาเซียน FTA อาเซียน-คู่เจรจา อาเซียน – จีน ACFTA อาเซียน – ญี่ปุ่น AJFTA อาเซียน – เกาหลี AKFTA อาเซียน – ANZ (ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์) อาเซียน – อินเดีย AIFTA อาเซียน – EU • เป็นที่น่าสนใจสำหรับประเทศอื่นๆ ที่จะทำ FTA กับอาเซียน

  29. ผลกระทบ สินค้าที่ไทยจะต้องเปิดตลาด และอาจมีการเข้ามาแข่งขันจากอาเซียนอื่นๆ เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันถั่วเหลือง ไหมดิบ กาแฟ น้ำตาลทราย ผัก ผลไม้ สินค้าประมง เสื้อผ้าสำเร็จรูป

  30. ติดต่อกรมการค้าต่างประเทศติดต่อกรมการค้าต่างประเทศ มาตรการรองรับผลกระทบ • กองทุนเพื่อการปรับตัว ของภาคการผลิตและบริการ • ให้ความช่วยเหลือผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ ติดต่อกรมการค้าต่างประเทศ • กองทุนช่วยเหลือของกระทรวงเกษตรฯ • พรบ.มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure)

  31. ติดต่อ กรมส่งเสริมการส่งออก แนวทางการปรับตัว เชิงรุก • เพิ่มขีดความสามารถแข่งขัน - สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างแบรนด์ - ใช้กลยุทธ์ตลาดเชิงรุก เจาะตลาดผู้ซื้อ - พัฒนาและผลิตสินค้าตรงตามความต้องการของตลาด • กลยุทธ์ระยะยาว - นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ - ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา - ศึกษาหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ

  32. ติดต่อกรมเจรจาการค้าฯ แนวทางการปรับตัว เชิงรับ • ปรับปรุงเตรียมแผนรองรับสำหรับสินค้าที่ขาดศักยภาพแข่งขัน - พัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาระบบบริหารจัดการ - พัฒนาบุคคลากร แรงงานฝีมือ ช่างเทคนิค - หากพบมาตรการกีดกันทางการค้า แจ้งหน่วยงานภาครัฐ

  33. MRA กับการเคลื่อนย้ายแรงงานในกลุ่มอาเซียน สมาชิกอาเซียน มีการจัดทำ Mutual Recognition Agreement (MRA) เพื่ออำนวยความสะดวกในการยอมรับคุณสมบัติของนักวิชาชีพที่สำคัญร่วมกัน เพื่อการถ่ายเทแรงงานฝีมือได้เสรีมากขึ้น แต่การเข้าเมืองและการทำงาน ยังต้องเป็นไปตามกฎระเบียบของแต่ละประเทศสมาชิก (เช่น การสอบใบอนุญาต) ปัจจุบัน ASEAN มีการลงนามรวมกันใน MRA 7 สาขาอาชีพ คือ วิศวกรรม การสำรวจ สถาปัตยกรรม แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล และบัญชี (บัญญัติ ศิริปรีชา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ กระทรวงแรงงาน)

  34. ปัญหากดดันต่อแรงงานไทย กรณีที่แรงงานฝีมือในอาเซียนย้ายถิ่นมาทำงานในประเทศไทยอันเนื่องมาจากการเปิดเสรี แรงงานฝีมือไทยอาจไม่ค่อยได้รับผลกระทบในด้านลบจากแรงงาน ฝีมือต่างชาติที่จะเข้ามา เพราะมีโอกาสที่จะได้รับค่าจ้างสูงกว่าแรงงานไทย ผู้ที่จะได้รับผลกระทบได้แก่ เจ้าของกิจการหรือผู้ประกอบการคนไทย เพราะจะถูกผู้ประกอบการต่างชาติ ดึงบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถไปร่วมงาน ด้วยค่าแรงที่จูงใจมากกว่า ซึ่งอาจจะก่อปัญหาสมองไหล (Brain Drain) ได้ (บัญญัติ ศิริปรีชา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ กระทรวงแรงงาน)

  35. การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว แรงงานฝีมือไทย ควรพัฒนาความรู้และทักษะด้านภาษา เพื่อแลกเปลี่ยน และเรียนรู้จากแรงงานฝีมือต่างชาติที่เขามาในไทยให้ได้มากที่สุด ในขณะที่ผู้ ประกอบการไทยอาจจำเป็นต้องปรับตัวหาผู้ร่วมทุนต่างชาติเพิ่มมากขึ้น (บัญญัติ ศิริปรีชา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ กระทรวงแรงงาน)

  36. การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัญหาแรงงานไทยออกไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่นๆ นั้น การไม่พัฒนาฝีมือแรงงาน ให้อยู่ในระดับสากลจะทำให้แรงงานไทยไม่เป็นที่น่าสนใจในตลาดต่างประเทศ รวมถึง การที่หลักสูตรการศึกษาหรือใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพของไทยไม่ได้รับการยอมรับ (accredited) ในระดับสากล อาจทำให้แรงงานฝีมือ หรือผู้ประกอบวิชาชีพของไทย เสียโอกาสที่จะได้งานในต่างประเทศ แนวทางแก้ปัญหา รัฐต้องพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและการอบรม ให้สามารถเทียบเคียงได้กับหลักสูตรของต่างประเทศ รวมถึงอาจต้องหาลู่ทางให้ใบอนุญาตหรือใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพของไทยได้รับการยอมรับ (accredited) ในระดับสากล (บัญญัติ ศิริปรีชา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ กระทรวงแรงงาน)

  37. การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัญหาความอ่อนด้อยทางด้านภาษาต่างประเทศ จะทำให้แรงงานไทยไม่สามารถแข่งขันกับแรงงานชาติอื่นได้ ซึ่งจะส่งผลทำให้ได้ตำแหน่ง หรือค่าจ้างที่ต่ำกว่าแรงงานฝีมือในระดับเดียวกัน ส่วนการคุ้มครองแรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศจะต้องมีมาตรการร่วมกับสมาชิกอาเซียน อาจทำให้แรงงานไทยเสียเปรียบนายจ้าง เช่น การทำสัญญาจ้าง ค่าจ้าง สวัสดิการ และกรณีเกิดข้อพิพาทด้านแรงงาน แนวทางป้องกันและแก้ปัญหารัฐควรเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบสองภาษาหรือเปิดอบรมความรู้ภาษาอังกฤษ โดยเน้นการตดตอสอสาร พร้อมทั้งจัดให้มีการวัดระดับโดยสถาบันภาษาที่ได้รับการยอมรับ ในขณะเดียวกัน รัฐบาลควรให้การดูแลแรงงานไทย โดยมีหน่วยงานรัฐที่สามารถช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่แรงงานไทยในต่างประเทศ หากจำเป็นก็ควรตั้งสำนักงานแรงงานไทยในประเทศอาเซียนทุกประเทศ

  38. การป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัญหาแรงงานย้ายถิ่น มีเหตุปัจจัยมาจากโอกาสและค่าแรงที่จูงใจในต่างประเทศ แนวทางแก้ไขปัญหา รัฐควรหาวิธีจูงใจให้แรงงานย้ายถิ่นกลับเข้าประเทศโดยการพัฒนาตลาดแรงงานในประเทศ และค่าจ้าง เช่น การสนับสนุนให้ไทยเป็น Medical Hub หรือสนับสนุน Creative Economy ในทุกส่วนของระบบเศรษฐกิจของประเทศ (บัญญัติ ศิริปรีชา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ กระทรวงแรงงาน)

  39. อนาคตของตลาดแรงงานใน ASEAN ปี พ.ศ. 2558 ปัญหาการเคลื่อนย้ายของแรงงาน จำนวนประชากรในอาเซียนจะเพิ่มขึ้นจาก 588 ล้านคนในปี 2553 เป็น 621 ล้านคนในปี 2558 และจะเพิ่มเป็น 651 ล้านคนในปี 2563 กำลังแรงงานเพิ่มจากประมาณ 250 ล้านคนเป็นประมาณ 300 ล้านคน (ดร. สุทัศน์ เศรษฐบุญสรวง ผู้แทนการค้าไทย การบรรยายเรื่องประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มิถุนายน 2553) ด้วยอัตราค่าแรงงานต่อชั่วโมงมีความแตกต่างกันอย่างมากในกลุ่มอาเซียน ยอมทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ค่าแรงงานที่ถูกกว่าในประเทศพม่า ลาว กัมพูชา และเวียดนาม จะทำให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานจากประเทศเหล่านี้สู่ประเทศที่เจริญกว่าและมีการจ่ายค่าแรงสูงกว่า

  40. ปัญหาตลาดแรงงานในเอเชีย จำนวนแรงงานจากจีนและอินเดีย ซึ่งมีสูงมาก แรงงานเหล่านี้จะไหลเข้าสู่อาเซียนซึ่งมีโอกาสดีกว่า และคุณภาพของแรงงานเหล่านี้กำลังได้รับการพัฒนาอย่างมากทั้งในประเทศจีนและอินเดีย เช่น – รัฐบาลจีนได้ใช้งบประมาณจำนวนมากปรับปรุงมหาวิทยาลัย และระบบการศึกษาพื้นฐาน – รัฐบาลอินเดียมีโครงการรื้อฟื้นมหาวิทยาลัยเก่า ๆ และลงทุนในการศึกษาอย่างมหาศาล ประเทศไทยจะต้องพัฒนาความพร้อมของแรงงานไทยที่จะออกสู่ตลาดต่างประเทศในระยะ 4-5 ปี ข้างหน้าเพราะการแข่งขันจะสูงมาก โดยเฉพาะจากแรงงานฝีมือในประเทศเอเชีย

  41. ผลเสียของ FTA ต่อแรงงานไทย 1. การเพิ่มปริมาณส่งออก บางอุตสาหกรรม ลงทุนใช้เครื่องจักรมากขึ้น มีผลต่อการจ้างแรงงานระดับล่างลดลง 2. การเปิดเสรีการค้าสินค้าเพิ่มปริมาณการผลิตสินค้าส่งออกแต่โรงงานผลิตป้อนตลาดไม่ทัน เพราะขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น 3. มีการแข่งขันจากกลุ่มประเทศ FTA โดยเฉพาะอาเซียนมากขึ้น 4. เกิดภาวะสมองไหลขาดแคลนแรงงานฝีมือที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ 5. เกิดการแข่งขันด้านค่าตอบแทน ค่าจ้าง แรงงานวิชาชีพมีทางเลือกที่จะทำงาน ในประเทศที่ให้ค่าตอบแทนที่สูงกว่า

  42. ผลดีของ FTA ต่อแรงงานไทย 1. ตลาดแรงงานไทยใหญ่ขึ้น มีโอกาสมากขึ้น 2. แรงงานฝีมือเข้าสู่ตลาดแรงงานในประเทศ FTA โดยเฉพาะในอาเซียนได้อย่างเสรี 3. เกิดการเกื้อกูลกันด้านบุคลากรวิชาชีพ ช่วยพัฒนาภูมิภาคอาเซียนและคู่เจรจา FTA 4. อำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา และเกิดการจ้างงานถาวรภายในประเทศสมาชกอาเซียน

  43. ผลดีของ FTA ต่อแรงงานไทย (ต่อ) 5. ส่งเสริมความร่วมมือด้านแรงงานระหว่างประเทศสมาชิก เน้นการพัฒนาทักษะและฝีมือแรงงาน 6. อาเซียนให้แข่งขันได้ เป็นที่ยอมรับ 7. ส่งเสริมและคุ้มครองนักลงทุน

  44. แรงงานไทยต้องเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ในการพัฒนาองค์กรของอาเซียนไปเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ครั้งนี้ ส่งผลกระทบอย่างมากต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานในภูมิภาค ประเทศผู้รับและประเทศผู้ส่งออกแรงงานจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการพัฒนาบุคลากรของตน ได้แก่ - การยกระดับมาตรฐานการศึกษา พัฒนาแนวความคิด และวัฒนธรรมทางการเรียนรู้ เพื่อการลงมือทำได้จริง

  45. แรงงานไทยต้องเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร - ต้องพัฒนาระบบสาธารณสุข และคุณภาพชีวิต พัฒนาวิสัยทัศน์และแนวคิดมุมมองให้กว้างไกลทันโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตองติดตามความเปลี่ยนแปลงทุกด้านของประเทศเพื่อนบ้าน และกลุ่มประเทศต่างๆ ทั่วโลก - จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ที่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่ได้เอาใจใส่เรียนรู้และฝึกปรือเท่าที่ควร

  46. แรงงานไทยต้องเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ในขณะเดียวกัน ภาครัฐก็มีภาระที่จะต้องพัฒนาแนวทางคุ้มครองแรงงานให้เป็นมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น เพราะในที่สุดเราคงไม่อาจทัดทานกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกได้ มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศจะเป็นเครื่องมือที่นานาประเทศใช้เป็นบรรทัดฐานรวมกัน

  47. ขอบคุณครับ

More Related