1 / 10

ประวัติสาวก สาวิกา ในศาสนาพุทธ

ประวัติสาวก สาวิกา ในศาสนาพุทธ. พระอาจารย์มั่น ภู ริทตฺ โต. มีนามเดิมว่า มั่น แก่นแก้ว เกิดเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2413 มรณภาพ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 รวมอายุได้79 ปี. ประวัติ.

Download Presentation

ประวัติสาวก สาวิกา ในศาสนาพุทธ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประวัติสาวก สาวิกา ในศาสนาพุทธ

  2. พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต • มีนามเดิมว่า มั่น แก่นแก้ว • เกิดเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2413 • มรณภาพ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 • รวมอายุได้79 ปี ประวัติ • เมื่ออายุ 22 ปี ท่านจึงเข้าอุปสมบทที่วัดศรีทอง จ.อุบลราชธานี โดยมีพระอริยกวี(อ่อน ธมฺมรกฺขิโต)เป็นอุปฌาย์ โดยได้รับฉายาว่า ภูริทตฺโต แปลว่า ผู้ให้ปัญญา ผู้แจกจ่ายความฉลาด สมณศักดิ์ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง • มีความใฝ่เรียนรู้ศึกษา • มีความมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวในการปฏิบัติพระธรรมวินัย

  3. สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) • มีนามเดิมว่า เฮง หรือ กิมเฮง • เกิดเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2424 • มรณภาพ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2486 • รวมอายุได้ 63 ปี ประวัติ พ.ศ. 2452 เป็นพระศรีวิสุทธิวงศ์       พ.ศ. 2455 เป็นพระราชสุธี       พ.ศ. 2459 เป็นพระเทพโมลี       พ.ศ. 2464 เป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์       พ.ศ. 2471 เป็นพระพิมลธรรม       พ.ศ. 2482 เป็นสมเด็จพระวันรัต เมื่ออายุ 59 ปี 38 พรรษา สมณศักดิ์ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง • เป็นผู้เคร่งครัดในการทำวัตรไหว้พระสวดมนต์ทุกเช้าเย็น • เป็นนักปกครองที่ดีเยี่ยม • เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที

  4. พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกษุ) • นามเดิม “ เงื้อม “ • เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 • มรณภาพ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 • อายุ 87 ปี ประวัติ • พ.ศ. 2469 พระเงื่อม • พ.ศ. 2473 พระมหาเงื่อม • พ.ศ. 2489 พระครูอินทปัญญาจารย์ • พ.ศ. 2493 พระอริยนันทมุนี พระราชาคณะชั้นสามัญ • พ.ศ. 2500 พระราชชัยกวี พระราชาคณะชั้นราช • พ.ศ. 2514 พระเทพวิสุทธิเมธี พระราชาคณะชั้นเทพ • พ.ศ. 2530 พระธรรมโกศาจารย์ พระราชาคณะชั้นธรรม สมณศักดิ์ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง • ศึกษาค้นคว้าหลักธรรมให้เข้าใจอย่างแท้จริง • แต่งตาราทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่ได้อ่าน • มีปณิธานอย่างแรงกล้า • การเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง

  5. พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกษุ) • นามเดิม “ ปั่น “ • เกิด 11 พฤษภาคม พ.ศ. 24454 • มรณภาพ 10 ตุลาคม พ.ศ . 2550 • อายุ 96 ปี ประวัติ • วันที่ 5ธันวาคม พ.ศ. 2499"พระปัญญานันทมุนี" • วันที่ 5ธันวาคม พ.ศ. 2514"พระราชนันทมุนี" • วันที่ 5ธันวาคม พ.ศ. 2530"พระเทพวิสุทธิเมธี" • วันที่ 5ธันวาคม พ.ศ. 2537"พระธรรมโกศาจารย์ สุนทรญาณดิลก สาธกธรรมภาณ วิสาลธรรมวิภูษิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี" • วันที่ 5ธันวาคม พ.ศ. 2547 "พระพรหมมังคลาจารย์ ไพศาลธรรมโกศล วิมลศีลาจารวินิฐ พิพิธธรรมนิเทศ พิเศษวรกิจจานุกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี" สมณศักดิ์ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง • ศึกษาค้นคว้าหลักธรรมให้เข้าใจอย่างแท้จริง • แต่งตำราทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่ได้อ่าน • การเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง

  6. พระพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท ) • เกิด 17มิถุนายน พ.ศ. 2461 • มรณภาพ 16มกราคม พ.ศ. 2535 • อายุ 73 ปี ประวัติ • พระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่ "พระโพธิญาณเถร" เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2516 • ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 5กุมภาพันธ์ 2517 สมณศักดิ์ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง • แบบอย่างของพระวิปัสสนา • เผยแผ่ยังต่างประเทศ เช่น ยุโรป อเมริกา

  7. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) • นามเดิม “ ประยุทธิ์ “ • เกิด 12 มกราคม พ.ศ. 2481 ประวัติ • พ.ศ. 2512 พระศรีวิสุทธิโมลี • พ.ศ. 2516พระราชวรมุนี • พ.ศ. 2530พระเทพเวที ศรีวิสาลปาพจนรจิต ตรีปิฎกบัณฑิต มหา๕ณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2536 พระธรรมปิฎก อดุลญาณนายก ปาพจนดิลกนิวิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2547 พระพรหมคุณาภรณ์ สุนทรธรรมสาธก ตรีปิฎกปริยัติโกศล วิมลศีลาจาร ศาสนภารธุราทรมหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี สมณศักดิ์ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง • ศึกษาธรรมอย่างรู้แจ้ง • มีวัตรปฏิบัติ • แต่งตำราพุทธศาสนา

  8. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างคุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกษุ) พระอาจารย์มั่น ภูริตตฺโต • มีความใฝ่เรียนรู้ศึกษา • มีความมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวในการปฏิบัติพระธรรมวินัย • ศึกษาค้นคว้าหลักธรรมให้เข้าใจอย่างแท้จริง • แต่งตำราทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่ได้อ่าน • การเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท ) • เป็นผู้เคร่งครัดในการทำวัตรไหว้พระสวดมนต์ทุกเช้าเย็น • เป็นนักปกครองที่ดีเยี่ยม • เป็นผู้มีความกตัญญูกตเวที • แบบอย่างของพระวิปัสสนา • เผยแผ่ยังต่างประเทศ เช่น ยุโรป อเมริกา พระธรรมโกศาจารย์(พุทธทาสภิกษุ) พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) • ศึกษาค้นคว้าหลักธรรมให้เข้าใจอย่างแท้จริง • แต่งตาราทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่ได้อ่าน • มีปณิธานอย่างแรงกล้า • การเผยแผ่ธรรมะที่ถูกต้อง • ศึกษาธรรมอย่างรู้แจ้ง • มีวัตรปฏิบัติ • แต่งตำราพุทธศาสนา

  9. ขอจบการนำเสนอของพวกเรากลุ่มที่ 2 ขอบคุณครับ / ค่ะ

  10. สมาชิกกลุ่ม 21. นาย วรินทร์กมลวรรณางกูร เลขที่ 7 2. นาย บัณฑิต ทิใจ เลขที่ 11 3. นาย ฉัตรมงคล ครุฑแสง เลขที่ 26 4. นางสาว นิสา ถนอมสุข เลขที่ 32 5. นางสาว สาธิดา ปัญจะ เลขที่ 35 6. นางสาว ศิริลักษณ์ ก้อนทอง เลขที่ 36 7. นางสาว กาญจนาพร ผึ้งดี เลขที่ 37 8. นางสาว ณัฐสุดา วงษ์ใหญ่ เลขที่ 44ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6

More Related