1 / 56

คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน . )

แผนปฏิบัติการ เพื่อบรรเทาอุทกภัย ปี 2555. คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน . ). แผนปฏิบัติการเพื่อบรรเทาอุทกภัย ปี 2555. แผนปฏิบัติการ ( 6 แผนงาน). วัตถุประสงค์. 1. แผนบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้ำเขื่อนหลัก และระดับประเทศ. 1. เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย

braima
Download Presentation

คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน . )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนปฏิบัติการ เพื่อบรรเทาอุทกภัย ปี 2555 คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.)

  2. แผนปฏิบัติการเพื่อบรรเทาอุทกภัย ปี 2555 แผนปฏิบัติการ (6 แผนงาน) วัตถุประสงค์ 1. แผนบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้ำเขื่อนหลัก และระดับประเทศ 1. เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย ปี พ.ศ.2555 - ดำเนินงานในระยะเร่งด่วน - เตรียมการแก้ไขปัญหา ระยะสั้นและระยะยาว 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอาคาร บังคับน้ำ/คลองธรรมชาติ/ ทางระบายน้ำ/คันกั้นน้ำ 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การเตือนภัย 2. แผนฟื้นฟูและปรับปรุงประสิทธิภาพสิ่งก่อสร้างเดิม 3. แผนพัฒนาระบบเตือนภัย และคลังข้อมูล 4. แผนเผชิญเหตุเฉพาะพื้นที่ 5. แผนการกำหนดพื้นที่รับน้ำนอง 6. แผนปรับปรุงองค์กรบริหารจัดการน้ำ

  3. แผนปฏิบัติการเพื่อบรรเทาอุทกภัย ปี 2555 • 1. ขาดความชัดเจน และไร้ทิศทาง • 2. แผนงานเป็นไปในลักษณะบนลงล่าง • 3. เป็นแผนงานที่ขาดการมีส่วนร่วมของเมือง • ชุมชนที่ประสบอุทกภัย • 4. เป็นแผนงานที่เน้นภารกิจ ไม่ได้เน้นเชิงพื้นที่ • ควรเป็นแผนที่ที่ดำเนินการในกรอบของพื้นที่ ภารกิจและการมีส่วนร่วม (AFP)

  4. แผนบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้ำ เขื่อนหลัก • และการจัดการน้ำในระดับประเทศ เป้าประสงค์ เพื่อปรับปรุงระบบจัดการน้ำของประเทศและเขื่อนหลักที่สำคัญ แนวทางการดำเนินการ 1. ปรับปรุงการระบายน้ำจากเขื่อนให้เหมาะสมกับกิจกรรมต่างๆ 2. จัดทำแผนการบริหารจัดการน้ำในกรณีต่างๆ (Scenario) 3. นำเสนอข้อมูลต่อสาธารณชนอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง กรอบเวลา แล้วเสร็จเดือนพฤษภาคม 2555 ผู้รับผิดชอบ ชป. กฟผ. อต. มท. อปท. กยน.เป็นประธาน และกรมชลประทานเป็นเจ้าของเรื่อง

  5. แผนบริหารจัดการพื้นที่ต้นน้ำ เขื่อนหลัก • และการจัดการน้ำในระดับประเทศ • 1) พื้นที่ต้นน้ำ บริหารจัดการน้ำในเขื่อนหลัก ควบคุมและระบายน้ำในแต่ละสถานการณ์ • 2) พื้นที่กลางน้ำ ควบคุมการเก็บกักน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมรองรับน้ำหลาก และเร่งระบายน้ำหลากผ่าน Flood Way ฝั่งซ้าย-ฝั่งขวา • พื้นที่ปลายน้ำ กทม. ชป. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประสานแผนการระบายน้ำร่วมกัน เพื่อระบายน้ำลงสู่ทะเล • การนำเสนอข้อมูลควรจัดทำให้เข้าใจได้ง่าย/ ตรงกัน • ในทุกระดับการศึกษา

  6. เขื่อนกิ่วคอหมา (170 ล้าน ลบ.ม.) เขื่อนภูมิพล (13,462 ล้าน ลบ.ม.) เขื่อนสิริกิติ์ (9,510 ล้าน ลบ.ม.) เขื่อนกิ่วลม (112 ล้าน ลบ.ม.) 120 360 100 300 1,000 อ.ท่าปลา 3,000 อ.เมือง 750 อ.สวรรคโลก อ.ศรีสัชนาลัย จ.ตาก เขื่อนแควน้อย (769 ล้าน ลบ.ม.) 2,400 แม่น้ำวัง 1,800 2,000 ปตร.แม่น้ำยม คลองผันน้ำยม-น่าน อ.เมือง อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ อ.พรหมพิราม 1,000 เขื่อนนเรศวร อ.เมือง อ.เมือง อ.เมือง อ.เมือง อ.เมือง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ จ.สุโขทัย จ.ลำปาง จ.แพร่ จ.กำแพงเพชร จ.พิษณุโลก 4,000 แม่น้ำยม แม่น้ำยมสายเก่า 700 3,500 DR.15.8 1,500 ลบ.ม./วินาที อ.บางระกำ DR.2.8 350 แม่น้ำปิง อ.เมือง แม่น้ำน่าน อ.บรรพตพิสัย อ.โพทะเล จ.พิจิตร 650 1,000 2,000 1,500 อ.ชุมแสง ความจุลำน้ำตอนบน (ปัจจุบัน) 6

  7. ข้อมูลถึงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2555 ข้อมูลระหว่าง พ.ศ. 2548-2555

  8. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. การจัดการน้ำเขื่อนภูมิพล ในปี 2554 Upper Rule Curve Rule Curve ที่เสนอแนะ Lower Rule Curve นกเตน

  9. ข้อมูลถึงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2555 ข้อมูลระหว่าง พ.ศ. 2548-2555

  10. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. การจัดการน้ำเขื่อนสิริกิติ์ ในปี 2554 Upper Rule Curve Rule Curve ที่เสนอแนะ Lower Rule Curve นกเตน ไหหม่า

  11. น้ำแม่วงก์ คลองโพธิ์ จ.นครสวรรค์ 210 150 50 210 460 200 500 35 230 320 2,000 แม่น้ำสะแกกรัง เขื่อนทับเสลา (160 ล้าน ลบ.ม.) จ.ชัยนาท เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (960 ล้าน ลบ.ม.) เขื่อนเจ้าพระยา คลองชัยนาท-ป่าสัก อ.สรรพยา คลองชัยนาท-อยุธยา คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง 65 จ.สิงห์บุรี แม่น้ำน้อย 2,500 จ.อ่างทอง แม่น้ำลพบุรี อ.อู่ทอง คลองบางแก้ว 2,000 คลองโผงเผง 800 3,500 3,500 1,800 ลบ.ม./วินาที ลบ.ม./วินาที ลบ.ม./วินาที คลองบางบาล เขื่อนพระรามหก จ.พระนครศรีอยุธยา จ.สระบุรี แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำนครนายก ปตร.พระนารายณ์ แม่น้ำบางปะกง อ.บางไทร แม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย จ.สมุทรสาคร จ.สมุทรปราการ ความจุลำน้ำตอนล่าง (ปัจจุบัน) 11

  12. แผนการบริหารจัดการน้ำหลากที่เขื่อนเจ้าพระยาแผนการบริหารจัดการน้ำหลากที่เขื่อนเจ้าพระยา แผนที่ 1 ปริมาณน้ำหลากน้อยกว่า 2,500 ลบ.ม./วินาที : อุทกภัยระดับน้อยประเมินจากปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์ และจากแม่น้ำสะแกกรังมีรวมกันไม่เกิน 2,500 ลบ.ม./วินาที (รอบการเกิดซ้ำประมาณ 1-2 ปี) แผนที่ 2 ปริมาณน้ำหลากรวมระหว่าง 2,500-3,500 ลบ.ม./วินาที : อุทกภัยระดับปานกลางประเมินจากปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์ 2,000-3,000 ลบ.ม./วินาทีรวมกับปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำสะแกกรังอีก 500 ลบ.ม./วินาที (รอบการเกิดซ้ำประมาณ 3-5 ปี)ดังเช่นเหตุการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ.2539 แผนที่ 3 ปริมาณน้ำหลากรวมระหว่าง 3,500-4,500 ลบ.ม./วินาที : อุทกภัยระดับรุนแรงประเมินจากปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์ 3,000-4,000 ลบ.ม./วินาทีรวมกับปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำสะแกกรังอีก 500 ลบ.ม./วินาที (รอบการเกิดซ้ำประมาณ 6-10 ปี) ดังเช่นเหตุการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ. 2545 และ 2553 แผนที่ 4 ปริมาณน้ำหลากมากกว่า 4,500 ลบ.ม./วินาที : อุทกภัยระดับรุนแรงมากประเมินจากปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดนครสวรรค์มากกว่า 4,000 ลบ.ม./วินาทีรวมกับปริมาณน้ำหลากจากแม่น้ำสะแกกรังอีก 500 ลบ.ม./วินาที (รอบการเกิดซ้ำ 10 ปีขึ้นไป) ดังเช่นเหตุการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ.25382549 และ 2554

  13. แผนที่ 1ปริมาณน้ำน้อยกว่า 2,500 ลบ.ม./วินาที (รอบ 1-2 ปี) : อุทกภัยระดับน้อย ฝั่งตะวันออก 275 ลบ.ม./วินาที ฝั่งตะวันตก 585 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำสะแกกรัง 210 50 150 210 200 320 230 35 500 2,000 65 800 ลบ.ม./วินาที จ.นครสวรรค์ 1) บริหารจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำ เขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์2) ระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา และระบายออกทางฝั่ง ตะวันออกและตะวันตก 860 ลบ.ม./วินาที3) พยากรณ์และเฝ้าระวังใน การเตือนภัยน้ำท่วม4) เตรียมการป้องกันน้ำท่วม พื้นที่ชุมชนเมือง จ.ชัยนาท เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนเจ้าพระยา คลองชัยนาท-ป่าสัก อ.สรรพยา คลองชัยนาท-อยุธยา คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง จ.สิงห์บุรี แม่น้ำน้อย จ.อ่างทอง แม่น้ำลพบุรี อ.อู่ทอง คลองบางแก้ว คลองโผงเผง คลองบางบาล เขื่อนพระรามหก จ.พระนครศรีอยุธยา จ.สระบุรี แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำนครนายก ปตร.พระนารายณ์ แม่น้ำบางปะกง อ.บางไทร แม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย จ.สมุทรสาคร จ.สมุทรปราการ

  14. แผนที่ 2ปริมาณน้ำระหว่าง 2,500-3,500 ลบ.ม./วินาที (รอบ 3-5 ปี) : อุทกภัยระดับปานกลาง ฝั่งตะวันออก 275 ลบ.ม./วินาที ฝั่งตะวันตก 585 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำสะแกกรัง 150 50 210 210 35 500 230 320 200 2,000 65 1,000 1,000 400 800 ลบ.ม./วินาที 1) พัฒนาคลองระบายน้ำหลากฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ปรับปรุงคลองชัยนาท-ป่าสักร่วมกับการก่อสร้างคลองระบายน้ำหลากแนวใหม่เพื่อระบายน้ำออกสู่ทะเล ระบายน้ำได้ 1,000 ลบ.ม./วินาที จ.นครสวรรค์ จ.ชัยนาท เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนเจ้าพระยา คลองชัยนาท-ป่าสัก อ.สรรพยา คลองชัยนาท-อยุธยา คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง 2) พัฒนาพื้นที่แก้มลิง2.1) ทุ่งบางกุ้ง ทุ่งวัดอุโลม ทุ่งบางกุ่ม ทุ่งท่าวุ้ง และทุ่งเชียงราก ความจุรวม 170 ล้าน ลบ.ม.2.2) แก้มลิงอ่างทองฝั่งตะวันตก ดอนพุด-มหาราช ป่าโมก-ผักไห่ บางบาล1 บางบาล2 ผักไห่-บางยี่หน ทุ่งภูเขาทอง-บางปะหัน และไชโย-บ้านแพรก ความจุรวม 1,738 ล้าน ลบ.ม. จ.สิงห์บุรี แม่น้ำน้อย จ.อ่างทอง แม่น้ำลพบุรี อ.อู่ทอง คลองบางแก้ว คลองโผงเผง คลองบางบาล เขื่อนพระรามหก จ.พระนครศรีอยุธยา จ.สระบุรี แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำนครนายก ปตร.พระนารายณ์ แม่น้ำบางปะกง อ.บางไทร 3) ผันน้ำอ้อมเมือง ปรับปรุงคลองบางแก้ว จากเดิม 150 เป็น 400 ลบ.ม.ต่อวินาที แม่น้ำเจ้าพระยา อ่าวไทย จ.สมุทรสาคร จ.สมุทรปราการ

  15. แผนที่ 3ปริมาณน้ำระหว่าง 3,500-4,500 ลบ.ม./วินาที (รอบ 6-10 ปี) : อุทกภัยระดับรุนแรง ฝั่งตะวันออก 275 ลบ.ม./วินาที ฝั่งตะวันตก 585 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำสะแกกรัง 50 150 210 210 35 230 500 200 320 2,000 65 1,000 1,000 500 800 ลบ.ม./วินาที 500 500 จ.นครสวรรค์ พัฒนาคลองระบายน้ำหลากตามแนวถนนวงแหวน รอบ 3ด้านฝั่งตะวันออก ระบายน้ำได้ 500 ลบ.ม./วินาที จ.ชัยนาท เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนเจ้าพระยา คลองชัยนาท-ป่าสัก อ.สรรพยา คลองชัยนาท-อยุธยา คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง พัฒนาคลองระบายน้ำหลากฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาก่อสร้างทางระบายน้ำหลาก (Floodway) ระบายน้ำได้500 ลบ.ม./วินาที จ.สิงห์บุรี แม่น้ำน้อย จ.อ่างทอง แม่น้ำลพบุรี อ.อู่ทอง คลองบางแก้ว คลองโผงเผง คลองบางบาล เขื่อนพระรามหก จ.พระนครศรีอยุธยา จ.สระบุรี แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำนครนายก ปตร.พระนารายณ์ แม่น้ำบางปะกง อ.บางไทร แม่น้ำเจ้าพระยา แนวถนนวงแหวนรอบที่ 3 อ่าวไทย จ.สมุทรสาคร จ.สมุทรปราการ

  16. แผนที่ 4ปริมาณน้ำมากกว่า 4,500 ลบ.ม./วินาที (รอบ 10 ปีขึ้นไป) : อุทกภัยระดับรุนแรงมาก ฝั่งตะวันออก 275 ลบ.ม./วินาที ฝั่งตะวันตก 585 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำสะแกกรัง 150 50 210 210 35 500 320 230 200 2,000 65 1,000 1,000 500 800 ลบ.ม./วินาที 500 1,000 จ.นครสวรรค์ พัฒนาคลองระบายน้ำหลากฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาก่อสร้างทางระบายน้ำหลาก (Floodway) ส่วนขยาย ระบายน้ำได้เพิ่มขึ้นเป็น 1,000 ลบ.ม./วินาที จ.ชัยนาท เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนเจ้าพระยา คลองชัยนาท-ป่าสัก อ.สรรพยา คลองชัยนาท-อยุธยา คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง จ.สิงห์บุรี แม่น้ำน้อย จ.อ่างทอง แม่น้ำลพบุรี อ.อู่ทอง คลองบางแก้ว คลองโผงเผง คลองบางบาล เขื่อนพระรามหก จ.พระนครศรีอยุธยา จ.สระบุรี แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำนครนายก ปตร.พระนารายณ์ แม่น้ำบางปะกง อ.บางไทร แม่น้ำเจ้าพระยา แนวถนนวงแหวนรอบที่ 3 อ่าวไทย จ.สมุทรสาคร จ.สมุทรปราการ

  17. 2. แผนฟื้นฟูและปรับปรุงประสิทธิภาพสิ่งก่อสร้างเดิม เป้าประสงค์ เพื่อซ่อมแซม/ ปรับปรุง/ เตรียมพร้อม ทั้งสิ่งก่อสร้าง และอุปกรณ์เดิม ให้พร้อมใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการดำเนินการ 1. ปรับปรุง/ซ่อมแซม/ก่อสร้างเพิ่มเติม คันกั้นน้ำ และอาคารบังคับน้ำ 2. ปรับปรุงทางระบายน้ำ ขุดลอกคูคลอง กำจัดสิ่งกีดขวางทางน้ำ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำและจัดการน้ำหลาก ในพื้นที่เฉพาะ กรอบเวลา แล้วเสร็จเดือนธันวาคม 2554 ผู้รับผิดชอบ ชป. ทล. ทช. กทม. อปท

  18. 2. แผนฟื้นฟูและปรับปรุงประสิทธิภาพสิ่งก่อสร้างเดิม • ปัญหาหลักที่สำคัญ คือ ภาครัฐจะดำเนินการกับกลุ่มคนที่บุกรุก • ทางน้ำ คู คลองสาธารณได้อย่างไร • 2) ผักตบชวา สิ่งกีดขวางทางน้ำอันดับหนึ่ง จะมีวิธีการกำจัดหรือเพิ่มมูลค่าให้ยั่งยืนได้อย่างไร • ปัญหาการทำลาย/ขโมย ส่วนประกอบของอาคารบังคับน้ำ • เช่น บานระบายน้ำ จะแก้ไขอย่างไร • การระบายน้ำในพื้นที่เฉพาะเช่น นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร มีพื้นที่คาบเกี่ยวกับพื้นที่ลุ่มต่ำทุ่งบางกุ่ม ควรหาแนวทางแก้ไขสำรองกรณีไม่สามารถป้องกันน้ำหลากเข้านิคมได้ • ในปี 2554ส่วนใหญ่น้ำเข้านิคมเนื่องจากฐานรากคันกั้นน้ำพัง • ไม่ใช่จากการไหลข้ามคัน ควรก่อสร้างคันกั้นน้ำให้มีฐานรากแข็งแรง

  19. 1. ยุทธศาสตร์เชิงรุก (สู้กับน้ำ) มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง 19

  20. 1. ยุทธศาสตร์เชิงรุก (สู้กับน้ำ) มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง ซ่อมแซมประตูปากคลองที่รับน้ำจาก คลองพระยาบันลือ คลองพระพิมล คลองมหาสวัสดิ์ ในแนวเหนือ-ใต้ ให้พร้อมใช้งาน ปรับปรุง เสริม คันกั้นน้ำฝั่งตะวันออก ซ่อมแซมประตูปากคลองที่รับน้ำจาก คลองระพีพัฒน์แยกตก คลองรังสิตประยูรศักดิ์ ในแนวเหนือ-ใต้ ให้พร้อมใช้งาน P ปรับปรุง เสริม คันกั้นน้ำฝั่งตะวันตก ปรับปรุงคันล้อมนิคมอุตสาหกรรม P P P ยกระดับถนนด้านทิศใต้ของคลอง P P ขุดลอก/ปรับปรุง/กำจัดสวะ บ้านรุกที่คลองแนวเหนือ-ใต้ พื้นที่ฝั่งตะวันออก ขุดลอก/ปรับปรุง/กำจัดสวะ บ้านรุกที่คลองแนวเหนือ-ใต้ พื้นที่ฝั่งตะวันตก P P บำรุงรักษาสถานีสูบน้ำ คลองชายทะเลให้พร้อมใช้งาน 20

  21. แนวคันกั้นน้ำที่เสนอแนะเพิ่มเติมแนวคันกั้นน้ำที่เสนอแนะเพิ่มเติม แนวคันกั้นน้ำในปัจจุบัน มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง 1. ยุทธศาสตร์เชิงรุก (สู้กับน้ำ) สร้างคันกั้นน้ำป้องกันน้ำท่วมเพิ่มเติมของ กทม. และปริมณฑล ถนนวงแหวนฝั่งตะวันออก ถนนรังสิต-นครนายก 21

  22. การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตคันกั้นน้ำที่เสนอแนะเพิ่มเติมการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตคันกั้นน้ำที่เสนอแนะเพิ่มเติม 2543 2553

  23. การปรับปรุงถนน สะพาน ฝั่งตะวันออก/ ตะวันตกของ กทม. 1. ยุทธศาสตร์เชิงรุก (สู้กับน้ำ) การปรับปรุงถนนฝั่งตะวันตก (มี 64 จุด) การปรับปรุงถนนฝั่งตะวันออก (มี 30 จุด) ถ.สาย 345 มี 7 จุด ถ.345 ถ.ชัยพฤกษ์ ถ.ชัยพฤกษ์ มี 2 จุด ถ.ราชพฤกษ์ ถ.ประชาร่วมใจ มี 4 จุด ถ.ราชพฤกษ์ มี 6 จุด ถ.วงแหวนรอบนอก ตะวันตก มี 21 จุด ถ.บางกรวย-ไทรน้อย ถ.วงแหวนรอบนอกตะวันตก ถ.บางกรวย-ไทรน้อย มี 2 จุด ถ.ราษฎร์อุทิศ มี 3 จุด ทางรถไฟสายใต้ มี 2 จุด ถ.สุวินทวงศ์ มี 3 จุด ถ.คลองกรุงธร มี 2 จุด ถ.บรมราชชนนี มี 3 จุด ถ.พุทธมณฑลสาย3 มี 1 จุด ทางรถไฟสายตะวันออก มี 4 จุด ถ.พุทธมณฑลสาย2 มี 6 จุด ถ.ลาดกระบัง มี 3 จุด ถ.เพชรเกษม มี 2 จุด ถ.พระราม2 มี 6 จุด ถ.มอเตอร์เวย์สาย 7 มี 3 จุด ถ.เอกชัย มี 2 จุด ถ.บางนา-ตราด มี 4 จุด ถ.เทพารักษ์ มี 4 จุด

  24. 3. แผนพัฒนาระบบเตือนภัยและคลังข้อมูล เป้าประสงค์1. เพื่อให้ มีข้อมูลจำเป็น ในการบริหารจัดการน้ำ 2. เพื่อให้ มีแบบจำลองเตือนภัย ที่มีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้ มีองค์กรในการเตือนภัย ที่มีประสิทธิภาพ แนวทางการดำเนินการ 1. จัดตั้งศูนย์คลังข้อมูลน้ำแห่งชาติ พร้อมเครือข่ายให้บริการ 2. สร้างแบบจำลองการพยากรณ์และเตือนภัย ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. ปรับปรุงระบบตรวจวัดข้อมูล องค์กรและระบบเตือนภัยจากน้ำ กรอบเวลา แล้วเสร็จเดือนมีนาคม 2555 ผู้รับผิดชอบ สำนักนายกฯ ศูนย์คลังข้อมูล และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ

  25. 3. แผนพัฒนาระบบเตือนภัยและคลังข้อมูล 1) ปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่จัดเก็บข้อมูล ในลักษณะต่างคนต่างเก็บ และต่างใช้งาน การเก็บข้อมูลไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ควรมีการประสานงานให้มีการจัดเก็บเพื่อการนำมาใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุดและประหยัดงบประมาณ 2) ข้อมูลที่ใช้ในการบริหารจัดการน้ำ ควรมีเจ้าภาพหลักเพียงหน่วยงานเดียว เพื่อตรวจสอบข้อมูลให้สอดคล้องกัน ก่อนนำไปประยุกต์ใช้ เช่น น้ำฝนเป็นของกรมอุตุฯ น้ำท่าเป็นกรมชลประทาน เป็นต้น 3) พัฒนาข้อมูลแผนที่ภูมิประเทศในเขตที่ราบภาคกลางจนถึงอ่าวไทย ให้มีความละเอียดเพียงพอที่จะใช้ในแบบจำลอง เพื่อให้ได้ข้อมูลเตือนภัยที่แม่นยำ ถูกต้อง

  26. 4. แผนเผชิญเหตุเฉพาะพื้นที่ เป้าประสงค์ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการในช่วงก่อน-ระหว่าง-หลังการเกิดอุทกภัย แนวทางการดำเนินการ 1. พัฒนาระบบป้องกัน/บรรเทาอุทกภัยในพื้นที่สำคัญ 2. พัฒนาระบบการเจรจากับผู้ได้รับผลกระทบและชุมชน 3. จัดทำแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการ 4. จัดทำแผนอพยพเมื่อเกิดอุทกภัยอย่างเป็นระบบ 5. จัดทำแผนช่วยเหลือ ฟื้นฟู ประชาชน/พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ 6. สร้างคลังเครื่องมือให้เพียงพอ โดยเฉพาะเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ กรอบเวลา แล้วเสร็จเดือนมีนาคม 2555 ผู้รับผิดชอบทส. และ กทม.เป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับ มท. อปท.

  27. 4. แผนเผชิญเหตุเฉพาะพื้นที่ • ต้องปลอดจากการเมือง • ต้องไม่เป็นภารกิจตามงบประมาณ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน • ขจัดความขัดแย้งของชุมชน จากการทำแผนในแต่ละพื้นที่ ภารกิจและการมีส่วนร่วม • ให้จังหวัดและชุมชนเสนอแผนการป้องกัน เพราะรู้จักสภาพพื้นที่/ การไหลของน้ำดี • การประสานแผนกับทางจังหวัด เพื่อให้บูรณาการ • ต้องมีแผนการคมนาคมระหว่างพื้นที่ชุมชน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ กับพื้นที่นอกเขตน้ำท่วม

  28. 5. แผนการกำหนดพื้นที่รับน้ำนอง เป้าประสงค์ 1. เพื่อบรรเทาผลกระทบจากอุทกภัย 2. เพื่อสนับสนุนแผนจัดการน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัย 3. เพื่อให้สามารถปรับรูปแบบการเกษตรในพื้นที่รับน้ำนอง แนวทางการดำเนินการ 1. กำหนดพื้นที่รับน้ำนองในเขตเจ้าพระยา 2. ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่รับน้ำนองที่กำหนดในข้อ 1. 3. ทำแผนการผันน้ำเข้าพื้นที่รับน้ำนอง 4. กำหนดมาตรการชดเชยความเสียหายเป็นกรณีพิเศษ กรอบเวลา แล้วเสร็จเดือนมีนาคม 2555 ผู้รับผิดชอบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  29. 5. แผนการกำหนดพื้นที่รับน้ำนอง • การพัฒนาพื้นที่แก้มลิง เน้นการยอมรับและร่วมมือจากคนในพื้นที่ด้วยความเต็มใจ • ต้องมีแผนที่ชัดเจนในการระบายน้ำออกจากแก้มลิง • ต้องมีแผนที่ชัดเจนในการคมนาคมระหว่างพื้นที่รับน้ำนอง • กับชุมชนภายนอก • 4) การพัฒนาแก้มลิงขนาดใหญ่ เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างชุมชนในพื้นที่แก้มลิง • 5) ภาครัฐควรมีแผนงานที่ชัดเจนทั้งก่อน-ระหว่าง-หลัง • การผันน้ำเข้าทุ่ง แจ้งให้เกษตรกรทราบอย่างต่อเนื่อง

  30. 2. ยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยน (อยู่กับน้ำ) แผนระยะเร่งด่วน มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง 2.ทุ่งเชียงราก พื้นที่ลุ่มต่ำธรรมชาติ 1.ทุ่งท่าวุ้ง 3.ทุ่งวัดอุโลม 5.ทุ่งบางกุ่ม ที่มา : สำนักชลประทานที่ 10 4.ทุ่งบางกุ้ง เป็นพื้นที่การเกษตรริมคลองระบายสายใหญ่ในเขตชลประทาน น้ำท่วมซ้ำซากเป็นประจำทุกปึ จะพัฒนาโดยการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชจาก นาปี/นาปรัง เป็น นาปรัง 2 ครั้ง โดยได้รับการสนับสนุนน้ำเพื่อการชลประทานในการทำนา 30 30 ที่มา : กรมชลประทาน

  31. พิษณุโลก เจ้าพระยาตอนบน 2. ยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยน (อยู่กับน้ำ) มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง *** ต้องมีการชดเชยค่าเสียโอกาสในการประกอบอาชีพแก่ราษฏรในพื้นที่และสร้างเส้นทางสัญจรในพื้นที่แก้มลิงขณะเกิดอุทกภัยด้วย N5 พิจิตร N4 พื้นที่ลุ่มต่ำตามธรรมชาติ N3 พื้นที่ลุ่มต่ำที่ถูกควบคุม N1 N2 นครสวรรค์ พื้นที่ควบคุม 835 กม.2 ปริมาตรเก็บกัก 1,161 MCM. การพัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ำเป็นแก้มลิงธรรมชาติ เพื่อชะลอน้ำหลากในภาวะวิกฤติ ที่มา : กรมชลประทาน 31

  32. 2. ยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยน (อยู่กับน้ำ) มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง เจ้าพระยาตอนล่าง *** ต้องมีการชดเชยค่าเสียโอกาสในการประกอบอาชีพแก่ราษฏรในพื้นที่และสร้างเส้นทางสัญจรในพื้นที่แก้มลิงขณะเกิดอุทกภัยด้วย แม่น้ำน้อย C7 C5 C8 อ่างทอง C6 แม่น้ำป่าสัก C2 พื้นที่ลุ่มต่ำที่ศึกษาการบริหารจัดการ C3 C1 พระนครศรีอยุธยา C4 พื้นที่ควบคุม 925 กม.2 ปริมาตรเก็บกัก 1,738 MCM. การพัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ำเป็นแก้มลิงธรรมชาติ เพื่อชะลอน้ำหลากในภาวะวิกฤติ 32 ที่มา : กรมชลประทาน

  33. 6. แผนปรับปรุงองค์กรบริหารจัดการน้ำ เป้าประสงค์ เพื่อให้มีองค์กรบริหารจัดการน้ำแบบ Single Command Authority แนวทางการดำเนินการ จัดตั้งองค์กรในการบริหารจัดการน้ำเป็นหน่วยเฉพาะกิจ เพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยในปี 2555 มีหน้าที่หลัก 2 เรื่อง คือ 1. ติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการในระยะเร่งด่วน 2. สั่งการไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในภาวะฉุกเฉินในลักษณะ Single commandเพื่อให้การทำงานมีเอกภาพ กรอบเวลา แล้วเสร็จเดือนเมษายน 2555 ผู้รับผิดชอบกยน. หารือร่วมกับ กยอ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  34. 6. แผนปรับปรุงองค์กรบริหารจัดการน้ำ • ต้องมีหน่วยงานหลัก ในการควบคุมและสั่งการ • มีความชัดเจนในการประสานแผนระหว่างหน่วยงานแต่ละระดับ • มีการจัดทำแผนร่วมกัน ระหว่างการจัดการน้ำและการป้องกันบรรเทาอุทกภัย • มีการเตรียมความพร้อมของแผน ในแต่ละจังหวัด พื้นที่ชุมชน และพื้นที่เศรษฐกิจ • มีการให้ความรู้กับประชาชน เพื่อการเตรียมพร้อมในการรับอุทกภัย

  35. บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด แผนการบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ชูลิต วัชรสินธุ์ มกราคม 2555

  36. แผนการบรรเทาอุทกภัย 1. ยุทธศาสตร์เชิงรุก...สู้2. ยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยน...อยู่3. ยุทธศาสตร์ยั่งยืน...หนี หนี สหรัตนนคร อยู่กับธรรมชาติ โรจนะ ไฮเทค บางปะอิน นวนคร บางกะดี บางชัน ลาดกะบัง สู้ 36

  37. แผนการบรรเทาอุทกภัย

  38. ผังเมือง / การใช้ที่ดิน • จำกัดการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร • กำหนดการขยายตัวของชุมชนเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจในบริเวณพื้นที่น้ำท่วม บริหารจัดการน้ำ ยุทธศาสตร์เชิงรุก….สู้ • จัดทำแผนการควบคุมน้ำหลาก • ขุดลอกแม่น้ำลำคลอง • ขุดลอกสันดอนปากแม่น้ำ • 4. ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ในพื้นที่ต้นน้ำ โครงสร้างพื้นฐาน • สร้างคันกั้นน้ำรอบพื้นที่เศรษฐกิจ 2. ดัดแปลงถนนเป็นคันกั้นน้ำ • 3. เพิ่ม ปตร./สถานีสูบน้ำ ในจุดที่จำเป็น • 4. ก่อสร้างคลองผันน้ำหลาก

  39. แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำบางปะกง การขุดลอกแม่น้ำ ลำคลอง ที่ตื้นเขินและมีวัชพืชมากโดยกรมเจ้าท่า การขุดลอกสันดอนปากแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าจีน และบางปะกง

  40. เขื่อนแก่งเสือเต้น หรือเขื่อนแม่น้ำยมและยมตอนบน เขื่อนสิริกิติ์ (2513) เขื่อนภูมิพล (2507) เขื่อนแม่วงก์ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (2542) โครงการแหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่มีศักยภาพ พื้นที่รับน้ำฝนคิดเป็น 37.9 %ของพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน เขื่อนกิ่วคอหมา (2553) เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล (2528) เขื่อนแม่กวงอุดมธารา (2536) เขื่อนกิ่วลม (2515) พื้นที่รับน้ำฝนคิดเป็น 76.4 %ของพื้นที่ลุ่มน้ำปิง เขื่อนแควน้อย (2552) เขื่อนทับเสลา (2531) เขื่อนกระเสียว (2525) เขื่อนพระรามหก (2467) อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ในปัจจุบัน 10 โครงการ ความจุเก็บกักประมาณ 26,000 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนเจ้าพระยา (2500)

  41. สร้างคันกั้นน้ำป้องกันน้ำท่วมเพิ่มเติมของ กทม. และปริมณฑล แนวคันกั้นน้ำที่เสนอแนะ แนวคันกั้นน้ำในปัจจุบัน ถนนวงแหวนฝั่งตะวันออก ถนนรังสิต-นครนายก

  42. การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตคันกั้นน้ำที่เสนอแนะเพิ่มเติมการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตคันกั้นน้ำที่เสนอแนะเพิ่มเติม 2543 2553

  43. คลองผันน้ำหลากเพื่อเร่งระบายน้ำลงสู่ทะเลคลองผันน้ำหลากเพื่อเร่งระบายน้ำลงสู่ทะเล Flood Route ฝั่งตะวันตก 1,000 ลบ.ม./วินาที ปรับปรุงคลองชัยนาท-ป่าสักและ ขุดคลองผันน้ำหลากฝั่งตะวันออกแนวใหม่ 1,000 ลบ.ม./วินาที คลองผันน้ำหลากวงแหวนรอบที่ 3 (ฝั่งตะวันออก) 500 ลบ.ม./วินาที 43 43

  44. ชัยนาท 1. ขุดขยายคลองชัยนาท-ป่าสัก และขุดคลองดาดคอนกรีต (ส่งน้ำ) ฝั่งขวา ปรับปรุงคลองชัยนาท-ป่าสัก และ ขุดคลองผันน้ำหลากฝั่งตะวันออกแนวใหม่ 2. ขุดคลองแนวใหม่จาก แม่น้ำป่าสักลงอ่าวไทย 3. ขุดคลองแนวใหม่ลงแม่น้ำนครนายก 4. ขุดคลองแนวใหม่ลงแม่น้ำบางปะกง 5. ขุดลอกคลองสำโรงลงคลองสุวรรณภูมิ อ่าวไทย

  45. การพัฒนาทางหลวง (ราชบุรี-กำแพงเพชร) พร้อมคลองผันน้ำ (นครสวรรค์-แม่กลอง)

  46. การก่อสร้างคลองผันน้ำตามแนวถนนวงแหวนรอบที่ 3 4 ม. ประมาณ 100 ม. แนวถนนวงแหวนผ่าน อ.บางปะอิน บางไทร วังน้อยจ.พระนครศรีอยุธยา อ.หนองเสือ ธัญบุรี ลำลูกกาจ.ปทุมธานี เขตหนองจอก ลาดกระบังกรุงเทพมหานคร อ.บางบ่อ บางเสาธง บางพลี จ.สมุทรปราการ 1. ราคาโครงการถนนวงแหวนรอบที่ 3 เฉพาะฝั่งตะวันออก ประมาณ 50,000 ล้านบาท 2. ราคาคลองผันน้ำหลากวงแหวนรอบที่ 3 เฉพาะฝั่งตะวันออก ประมาณ 50,000 ล้านบาท

  47. มาตรการด้านผังเมือง 1. จำกัดการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร2. กำหนดการขยายตัวของชุมชนเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจในบริเวณพื้นที่น้ำท่วม

  48. ยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยน….อยู่ยุทธศาสตร์ปรับเปลี่ยน….อยู่ บริหารจัดการน้ำ 1. เพิ่มพื้นที่เก็บกักน้ำ (แก้มลิง) 2. ขุดลอกแหล่งน้ำ บึงธรรมชาติ โครงสร้างพื้นฐาน • ปรับปรุงถนน สะพาน ขวางทางน้ำ • ขยายช่องทางระบายน้ำ 3. ปรับปรุง ปตร./สถานีสูบน้ำเดิม ผังเมือง / การใช้ที่ดิน 1. วางแผนการใช้พื้นที่เกษตรรับน้ำหลาก 2. ชดเชยพื้นที่รับน้ำชั่วคราว

  49. พิษณุโลก เจ้าพระยาตอนบน *** ต้องมีการชดเชยค่าเสียโอกาสในการประกอบอาชีพแก่ราษฏรในพื้นที่และสร้างเส้นทางสัญจรในพื้นที่แก้มลิงขณะเกิดอุทกภัยด้วย N5 พิจิตร N4 พื้นที่ลุ่มต่ำตามธรรมชาติ N3 พื้นที่ลุ่มต่ำที่ถูกควบคุม N1 N2 นครสวรรค์ พื้นที่ควบคุม 835 กม.2 ปริมาตรเก็บกัก 1,161 MCM. การพัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ำเป็นแก้มลิงธรรมชาติ เพื่อชะลอน้ำหลากในภาวะวิกฤติ

  50. เจ้าพระยาตอนล่าง *** ต้องมีการชดเชยค่าเสียโอกาสในการประกอบอาชีพแก่ราษฏรในพื้นที่และสร้างเส้นทางสัญจรในพื้นที่แก้มลิงขณะเกิดอุทกภัยด้วย แม่น้ำน้อย C7 C5 C8 อ่างทอง C6 แม่น้ำป่าสัก C2 พื้นที่ลุ่มต่ำที่ศึกษาการบริหารจัดการ C3 C1 พระนครศรีอยุธยา C4 พื้นที่ควบคุม 925 กม.2 ปริมาตรเก็บกัก 1,738 MCM. การพัฒนาพื้นที่ลุ่มต่ำเป็นแก้มลิงธรรมชาติ เพื่อชะลอน้ำหลากในภาวะวิกฤติ

More Related