1 / 8

การประชุม เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงและ

การประชุม เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงและ. การวางระบบการควบคุมภายใน”. R. I. S. K. แนวคิดการบริหารความเสี่ยง. โดย ผู้ช่วยอธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ อัครประถมพงศ์). วันพุธที่ 1 กันยายน 2547. K. I. R. S. คำนิยาม : ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง.

Download Presentation

การประชุม เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงและ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุม เรื่อง “การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน” R I S K แนวคิดการบริหารความเสี่ยง โดย ผู้ช่วยอธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ อัครประถมพงศ์) วันพุธที่ 1 กันยายน 2547

  2. K I R S คำนิยาม : ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่ง ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่สำเร็จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด (จากเอกสารประกอบการประชุมคณบดี ครั้งที่ 15/2547 วันพุธที่ 16 มิถุนายน 2547) (แหล่งอ้างอิง : คำแนะนำ การนำมาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ในเชิงปฏิบัติ ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน www.oag.go.th) ปัจจัยเสี่ยง หมายถึง สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยง

  3. R I ความเสี่ยงจากปัจจัยภายใน 1. Financial Risk 2. Operational Risk (รวม Human Resource) 3. Policy/Strategic Risk ความเสี่ยงจาก 4. ปัจจัยภายนอก Competitive Risk Supplier Risk Regulatory Risk Econ/Political Risk S K การแข่งขัน ผู้ขาย/ผู้ส่งมอบ กฎระเบียบ เศรษฐกิจ/การเมือง การเงิน การดำเนินงาน นโยบาย/กลยุทธ์ ประเภทและแหล่งของความเสี่ยง

  4. R I S K Risk-Control-Internal Auditing Risk Control Wastes Unacceptable • วัตถุประสงค์ /เป้าหมายที่ไม่มี การควบคุม ยอมรับไม่ได้ • การควบคุม โดยปราศจาก ความเสี่ยง คือความสูญเสียด้านทรัพยากร • ความเสี่ยง ที่ปราศจากการควบคุม เป็นเรื่องที่ยอมรับไม่ได้ • การตรวจสอบภายใน ที่ไม่ครอบคลุมทั้ง ความเสี่ยง และการควบคุมเป็นเรื่องที่เสียเวลา = รายงานสิ่งผิดปกติ Abnormality Report “Risk Based Auditing”

  5. R I S K 3 ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (ObjectivesEstablishment) 2. การระบุความเสี่ยง Risk Management System 1 2 (Risk Identification) 3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 4 4. การสร้างแผนจัดการ (Risk ManagementPlanning) 5. การติดตามสอบทาน (Monitoring & Review)

  6. 2 3 ก2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้นส่งผลต่อความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย แต่มีโอกาสในการเกิดไม่บ่อย ก1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหาย ระยะสั้นส่งผลต่อความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน และมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นบ่อยๆ ข1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่รุนแรงในระยะต้น แต่บั่นทอนหรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ในอนาคต และมีโอกาสเกิดขึ้นบ่อย ข2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลในระยะยาว ความเสียหายอาจจะไม่ชัดเจน แต่บั่นทอนหรือ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาในอนาคต และมีโอกาสในการเกิดไม่บ่อย K I R S การจัดระดับความเสี่ยง

  7. 4 R I 1.Take การยอมรับความเสี่ยง S K 2.Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง 3.Terminate การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 4.Transfer การกระจาย/โอนความเสี่ยง การสร้างแผนจัดการ ประเภทของแผนจัดการความเสี่ยง

  8. 5 การติดตามผล (ตัวอย่าง ธ.กรุงเทพ) ลำดับ ความเสี่ยง ตัวชี้วัด สภาพปัจจุบัน เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ 1 เอกสารไม่ชัดเจน สามารถจัดหาเอกสารที่ถูกต้องเรียบ ร้อยและทันตามเวลาที่ ธปท.กำหนด 85 % 95 % จนท.ผู้รับผิดชอบ 2 ลืม / ลดยอดภาระผิด -ต้องลดยอดภาระไม่ผิดพลาด -ลดปริมาณเอกสารที่ส่งมาทาง FAX - สามารถตอบลูกค้าได้อย่างรวดเร็วเมื่อลูกค้าขอเช็คสอบภาระ 2 ครั้ง / 3 เดือน ใช้เวลา 3 นาที ไม่ผิดพลาดเลย ใช้เวลา 1 นาที ทุกคน 3 เข้าบัญชีผิดสกุล / Amount เข้าบัญชีผิดพลาดน้อยลง หรือไม่ผิดเลย 2 ราย / 3 เดือน ไม่ผิดพลาดเลย ทุกคน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า 2. เป็นภาพลักษณ์ที่ดีของธนาคาร เนื่องจากสามารถเตรียมเอกสารได้ถูกต้องและทันเวลาตามความประสงค์ของ ธปท. 2. เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ 4. ลดค่าใช้จ่ายทาง FAX เช่น กระดาษ, ค่าผงหมึก และค่าเก็บรักษาเอกสารที่ดอนเมือง

More Related