1 / 12

ตัวเก็บประจุ ( capacitor )

ตัวเก็บประจุ ( capacitor ). ตัวเก็บประจุ ( capacitor ). ตัวเก็บประจุจะประกอบไปด้วย แผ่นโลหะตัวนำ 2 แผ่น วางห่างกัน โดยมี สารไดอิเล็กทริกกั้นอยู่ ระหว่างแผ่นตัวนำทั้ง 2

bonita
Download Presentation

ตัวเก็บประจุ ( capacitor )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวเก็บประจุ ( capacitor )

  2. ตัวเก็บประจุ ( capacitor ) • ตัวเก็บประจุจะประกอบไปด้วยแผ่นโลหะตัวนำ 2 แผ่นวางห่างกันโดยมีสารไดอิเล็กทริกกั้นอยู่ระหว่างแผ่นตัวนำทั้ง 2 • ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้มีการนำไปใช้ในวงจรแรงดันวงจรกรองความถี่ใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณ (coupling)

  3. ตัวเก็บประจุกับคุณสมบัติทางไฟฟ้าตัวเก็บประจุกับคุณสมบัติทางไฟฟ้า • แรงเคลื่อนไฟฟ้าจึงไม่สามารถตกคร่อมคาปาซิเตอร์ได้ในทันทีทันใดหากแต่ต้องใช้เวลาให้มันค่อยๆเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้า • ตัวอย่าง เมื่อป้อน 6 v คาปาซิเตอร์จะค่อยๆชาร์จประจุจาก 0 – 6 โวลต์เมื่อแรงเคลื่อนถึงจุดสูงสุดแล้วกระแสไฟฟ้าจะไม่สามารถไหลเข้าไปคาปาซิเตอร์ได้อีกต่อไป • หน่วยความจุ (unit of capacitance)มีหน่วยเป็นฟารัด (Farad) มาจากการรับกระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ในเวลา 1 วินาทีแล้วทำให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรดและมีประจุคงอยู่เท่ากับ 1 คูลอมบ์

  4. การเลือกใช้งานตัวเก็บประจุต่างๆการเลือกใช้งานตัวเก็บประจุต่างๆ • เนื่องจากตัวเก็บประจุมีหลายชนิดการเลือกใช้ตัวเก็บประจุผิดประเภทของงานอาจทำให้วงจรเกิดความไม่สมบูรณ์ขึ้นได้ • บางครั้งอาจเกิดการระเบิดจนทำลายวงจรก็มี โดยเฉพาะ ตัวเก็บประจุตัวโตๆ ที่ทนแรงดันสูงๆผู้ใช้ต้องระมัดระวังอย่าต่อผิดขั้ว หรือให้แรงดันเกินพิกัดเด็ดขาด

  5. ชนิดของตัวเก็บประจุ • 1.อิเล็กโทรไลต์ -ใช้ในวงจรกรองแรงดันไฟตรงที่ได้จากการ rectify -ใช้ในการ coupling สัญญาณ

  6. 2.แทนทาลัม -ใช้ในงานที่ต้องการความแม่นยำของความถูกต้องสูง • 3.เซรามิกส์ - ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์ • -ใช้ในวงจรความถี่สูง

  7. 4.โพลีเอสเตอร์ -ใช้งานได้ทั่วๆไป - มีค่าให้เลือกใช้มากมาย • 5. โพลีสไตรีน -ใช้ในวงจรจูนหรือออสซิลเลเตอร์ -ใช้ในวงจรที่มีแรงดันสูง

  8. 6.โพลีโพรไพลีน - อินเวอร์เตอร์กำลังสูงๆ -converter

  9. ค่า capacitance ค่า capacitance ของคาปาซิเตอร์หนึ่งฟารัดก็คือความสามารถของคาปาซิเตอร์ที่จะสามารถเก็บประจุได้ถึง 1 คูลอมบ์ จากสมการ c = ค่าคาปาซิแตนซ์มีหน่วยเป็นฟารัด V = โวลต์ Q = ประจุ A = พื้นที่ของเพลตโลหะเป็นตารางนิ้ว d = ค่าความห่างระหว่างเพลตโลหะทั้งสองเป็นนิ้ว = ค่า permittivity ของฉนวนที่อยู่ระหว่างเพลตทั้งสอง

  10. ค่ารีแอกแตนซ์ ค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุณความถี่ใดๆ การคำนวณค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุจะใช้สูตร โดยที่ คือค่ารีแอกแตนซ์ของตัวเก็บประจุมีหน่วยเป็นโอห์ม f คือความถี่มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ ( Hz) C คือความจุมีหน่วยเป็นฟารัด

  11. การคำนวณตัวเก็บประจุ ต่อแบบขนาน

  12. ต่อแบบอนุกรม NOTE: การคำนวณของ R และ C จะตรงกันข้าม

More Related