1 / 47

สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลและการนำไปใช้

สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลและการนำไปใช้. สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. หัวข้อการบรรยาย. สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล ปัญหาของการสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แหล่งสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล วิธีการตรวจสอบลิขสิทธิ์ของสื่อการเรียนรู้ที่พบบน อินเทอร์เน็ต รู้จักกับ OERCOMMONS

bo-hartman
Download Presentation

สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลและการนำไปใช้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลและการนำไปใช้สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลและการนำไปใช้ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

  2. หัวข้อการบรรยาย • สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล • ปัญหาของการสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล • แหล่งสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล • วิธีการตรวจสอบลิขสิทธิ์ของสื่อการเรียนรู้ที่พบบนอินเทอร์เน็ต • รู้จักกับOERCOMMONS • วิธีการสร้างสื่อการเรียนการสอนจากสื่อที่พบบนอินเทอร์เน็ต

  3. สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลมีอะไรบ้าง มีข้อดีอย่างไร หาได้จากที่ไหน

  4. สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล • สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล ได้แก่ สื่อทุกชนิดที่นำมาใช้ประกอบการเรียนการสอน และช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและการเรียนรู้ของนักเรียนและบุคคลทั่วไป • หนังสืออิเล็กทรอนิค(e-book) • ชิ้นงานนำเสนอ (สไลด์ PowerPoint) • ชุดการทดลองเสมือนจริง • ภาพประกอบบทเรียน • บทความบนเว็บไซต์ต่างๆ • คลิปวีดิโอ/ภาพเคลื่อนไหว • วัตถุการเรียนรู้(learning object)

  5. ข้อดีของสื่อดิจิทัล • มีสื่อดิจิทัลเป็นจำนวนมากที่มีคุณภาพและสามารถนำมาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายหรือเสียเวลาสร้างใหม่ • สื่อดิจิทัลหลายประเภทช่วยให้นักเรียนเข้าใจและมองเห็นภาพได้ง่ายขึ้น • เข้าถึงได้ ทุกที่ ทุกเวลา (ผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น tablet, คอมพิวเตอร์) • แก้ไข ปรับปรุง ผสมผสาน ต่อยอดได้กรณีที่สัญญาอนุญาตยินยอมให้ทำ • ไม่เปลืองทรัพยากรธรรมชาติ • สามารถจัดเก็บได้เป็นเวลานานโดยไม่เสื่อมสภาพ

  6. สื่อดิจิทัลกับการศึกษาไทยสื่อดิจิทัลกับการศึกษาไทย • สื่อดิจิทัลสามารถนำมาใช้ประโยชน์ด้านการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะกับวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ • สื่อดิจิทัลบนอินเทอร์เน็ตมีตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาถึงระดับมหาวิทยาลัย • จำนวนของสื่อดิจิทัลของไทยมีเพิ่มมากขึ้นและมีคุณภาพไม่แพ้สื่อต่างประเทศ

  7. ทิศทางการศึกษาไทย • ให้ความสำคัญกับภาษาอังกฤษมากขึ้น • หลายโรงเรียนเปิดการเรียนการสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษ • มีโรงเรียนนานาชาติเพิ่มขิ้น • มีการสนับสนุนให้ใช้แบบเรียนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ที่เป็นภาษาอังกฤษ

  8. ปัญหาที่ตามมา • หาแบบเรียนได้จากไหน • แบบเรียนภาษาอังกฤษมีราคาแพงกว่าของไทยมาก • ไม่แน่ใจว่าแบบเรียนเล่มใดตรงตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ http://findicons.com/icon/4897/money_book

  9. ปัญหาของการสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลปัญหาของการสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล

  10. ปัญหาของการสืบค้นสื่อดิจิทัลปัญหาของการสืบค้นสื่อดิจิทัล ? • ไม่ทราบแหล่งสืบค้น • ไม่แน่ใจว่าควรใช้คำสืบค้นอะไรจึงหาสื่อเจอ • ไม่แน่ใจว่าฟรีจริงหรือไม่ • ผลการค้นหามีจำนวนมาก ไม่สามารถคัดกรองเฉพาะสื่อที่เหมาะสมได้

  11. แหล่งสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลแหล่งสืบค้นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล ทั้งในและนอกประเทศ

  12. ระบบสืบค้นทรัพยากรเรียนรู้นานาชาติระบบสืบค้นทรัพยากรเรียนรู้นานาชาติ • ทำหน้าที่เป็นแหล่งสืบค้นสื่อการเรียนการสอนจากทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ • สื่อการเรียนรู้ที่สืบค้นได้มีคุณภาพ • สามารถคัดกรองสื่อการเรียนรู้ตามข้อกำหนดต่างๆ เช่น หัวข้อ ประเภทของสื่อ แหล่งที่มา • สื่อการเรียนรู้ที่สืบค้นได้ส่วนใหญ่สามารถนำมาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและส่วนหนึ่งสามารถนำมาดัดแปลงได้

  13. แหล่งของสื่อที่หาได้ในระบบแหล่งของสื่อที่หาได้ในระบบ • OER Commons • ARIADNE • OER Africa (แอฟริกา) • KERIS(เกาหลี) • European Schoolnet(ยุโรป) • LORNET(แคนาดา) • The Open University of Japan (ญี่ปุ่น) • เครือข่ายของ TCU และพันธมิตร เช่นKIDS-D (ไทย)

  14. ใส่คำสืบค้น ตามแหล่งที่มา คัดกรองผลการค้นหาได้ ตามชื่อผู้แต่ง ตามประเภทสื่อ

  15. CK-12 Foundation • เว็บไซต์ http://www.ck12.org • เป็นลักษณะของopen textbook • เนื้อหาหลายหลายวิชาและระดับชั้น • ทุกชิ้นได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ • อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาติ Creative Commons

  16. ใส่คำสืบค้น คัดกรองผลการค้นหา

  17. วิธีการตรวจสอบลิขสิทธิ์ของสื่อการเรียนรู้วิธีการตรวจสอบลิขสิทธิ์ของสื่อการเรียนรู้ หาสื่อเจอแล้วแต่เอามาใช้ได้จริงหรือไม่ http://absentofi.org

  18. วิธีการตรวจสอบลิขสิทธิ์ของสื่อการเรียนรู้วิธีการตรวจสอบลิขสิทธิ์ของสื่อการเรียนรู้ • สื่อทุกรูปแบบบนอินเทอร์เน็ตจะมีลิขสิทธิ์แตกต่างกันไป • บางชิ้นนำมาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่ • ห้ามใช้เพื่อการค้า • ห้ามดัดแปลง • ต้องระบุที่มาของสื่อ • จะรู้ได้อย่างไรว่าสื่อที่หาได้อยู่ใต้สัญญาประเภทใด

  19. รู้จักกับ Creative Commons (CC) • สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ เป็นสัญญาที่ผู้สร้างสื่อต่างๆตกลงว่าจะมอบสิทธิ์บางส่วนให้ผู้ใช้ เช่น สิทธิ์ในการดัดแปลง สิทธิ์ในการเผยแพร่ • สัญญาCCมีหลายประเภท ซึ่งต่างก็มีข้อจำกัดในการนำผลงานไปใช้แตกต่างกันไป

  20. ประเภทสัญญาCreative Commons • อ้างอิงแหล่งที่มา (CC-BY) • อ้างอิงแหล่งที่มา ให้อนุญาตต่อไปแบบเดียวกัน (CC-BY-SA) • อ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลง (CC-BY-ND) • อ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า (CC-BY-NC) • อ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า และให้อนุญาตต่อไปแบบเดียวกัน (CC-BY-NC-SA) • อ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า และห้ามดัดแปลง (CC-BY-NC-ND) ใช้ประกอบเพื่อการค้าได้ ห้ามใช้เพื่อการค้า

  21. ประเภทสัญญาCreative Commons ที่มา: http://teerapuch.wordpress.com/2011/04/04/ทำความรู้จักกับลิขสิทธ

  22. รู้จักกับOERCOMMONS แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและไม่เสียค่าจ่าย

  23. OERCOMMONS – www.oercommons.org • OER = Open Educational Resource • มีสื่อเป็นจำนวนมากกว่าสามหมื่นชิ้น • มีสื่อตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาถึงมหาวิทยาลัย • สื่อส่วนใหญ่อยู่ภายใต้สัญญาCreative Commons (มีประเภทของสัญญากำกับชัดเจนทุกชิ้น)

  24. มีคะแนนของสื่อ มีประเภทสัญญากำกับชัดเจน ไปยังสื่อ

  25. วิธีการสร้างสื่อการเรียนการสอนจากสื่อที่พบบนอินเทอร์เน็ตวิธีการสร้างสื่อการเรียนการสอนจากสื่อที่พบบนอินเทอร์เน็ต ที่มาของรูป: http://stinky9.deviantart.com/art/Onibari-light-61422552 http://jrdn88.deviantart.com/art/Simplexity-File-Icons-79096180

  26. รู้จักกับEPUB • EPUB เป็นรูปแบบไฟล์สำหรับ e-book ที่เป็นมาตรฐานและได้รับความนิยม • แม้ว่าจะกลายมาเป็นมาตรฐานและใช้กันทั่วไปในสำนักพิมพ์ ซอฟแวร์ที่ใช้สำหรับสร้างหนังสือEPUB ยังมีจำนวนไม่มากและมักมีข้อจำกัดหากเป็นตัวที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย • บุคคลทั่วไปมักสร้างหนังสือEPUB โดยสร้างไฟล์DOC หรือPDF ตามปกติและใช้เครื่องมือแปลงไฟล์เป็นEPUB

  27. ข้อดีของEPUB • สามารถย่อขยายขนาดตัวอักษรได้ โดยตัวอักษรจะถูกจัดเรียงให้อยู่ภายในหน้านั้นๆเสมอ ไม่ต้องเลื่อนหน้าหนังสือไปมา(reflow content) • สามารถฝังเมทาดาทาลงไปในหนังสือได้ • เวอร์ชั่นต่อไปของEPUB จะสามารถดูคลิปวีดิโอและแทรกไฟล์เสียงได้ ข้อที่สำคัญที่สุดที่ทำให้ EPUB เป็นประเภทไฟล์ที่เหมาะสมกับ e-book มากที่สุดคือข้อแรก

  28. ข้อเสียของEPUB • ตัวไฟล์เป็นมาตรฐานแต่ซอฟแวร์หรืออุปกรณ์อ่านไฟล์epubไม่มีมาตรฐาน ทำให้นำไฟล์ชิ้นเดียวกันไปเปิดในซอฟแวร์ต่างกันแล้วได้ผลไม่เหมือนกัน • ผลลัพธ์จากการแปลงไฟล์ประเภทอื่นเป็นepubมักได้หน้าตาไม่เหมือนไฟล์ต้นฉบับ • รูปภาพหายไป • ลักษณะฟอนต์ไม่เหมือนเดิม • การจัดวางองค์ประกอบต่างๆผิดเพี้ยนไป

  29. โปรแกรมที่ใช้ (แนะนำ) • สำหรับสร้างเนื้อหา • Microsoft Words • Google Docs • OpenOffice.org/LibreOffice • สำหรับสร้างe-book • Calibreสำหรับแปลงไฟล์หลากหลายประเภท (http://calibre-ebook.com/) • http://www.2epub.com/ สำหรับแปลงไฟล์ PDF, DOC เป็น EPUB • Bullzip PDF Printer สำหรับบันทึก DOCเป็นPDF (http://www.bullzip.com/products/pdf/info.php)

  30. โปรแกรมที่ใช้ (แนะนำ) • สำหรับอ่านe-book • Adobe Reader(สำหรับไฟล์PDF)http://get.adobe.com/reader/ • Foxit Reader (สำหรับไฟล์PDF)http://www.foxitsoftware.com/downloads/ • EPUBReader (Firefox add-on) (สำหรับไฟล์EPUB)https://addons.mozilla.org/en-US/firefox/addon/epubreader/ • Calibre(สำหรับไฟล์เกือบทุกประเภท)http://calibre-ebook.com

  31. อุปกรณ์สำหรับอ่านe-book • Amazon Kindle • ให้ประสบการณ์ใกล้เคียงการอ่านหนังสือจริงมากที่สุด เนื่องจากใช้ e-ink ที่ทำให้ไม่ปวดตาเวลาอ่านเป็นเวลานาน • รองรับPDF, Mobipocket

  32. อุปกรณ์สำหรับอ่านe-book • Barnes & Noble Nook • ใช้ระบบปฏิบัติการAndroid • มีทั้งแบบe-ink และจอสีtouchscreen • รองรับPDF, EPUB

  33. อุปกรณ์สำหรับอ่านe-book • iPad • จอสีtouchscreen • รองรับ PDF, EPUB

  34. อุปกรณ์สำหรับอ่านe-book • Tablet ต่างๆ • ได้แก่ tabletหลากหลายระบบปฏิบัติการ ทั้งAndroid, Windows 7, PalmOS • รองรับ PDF, EPUB เป็นส่วนใหญ่ • จอสีtouchscreen

  35. วิธีแปลงไฟล์.doc, .docxเป็น epub • สร้างหนังสือด้วยMicrosoft Word ตามปกติ • บันทึกไฟล์เป็นประเภทWeb Page (Filtered) (*.htm, *.html) • เปิดโปรแกรม Calibre • เพิ่มหนังสือที่บันทึกเป็นhtmlลงไปในCalibre library • เริ่มกระบวนการแปลงหนังสือเป็น epub • ไฟล์ที่ได้สามารถนำไปเปิดในโปรแกรมอ่านepubหรืออุปกรณ์อ่านepubเช่น Kindle, iPad ได้ทันที

  36. วิธีบันทึกไฟล์เป็นHTML 1. เลือกบันทึกเป็นไฟล์ประเภท Web Page, Filtered (*.htm, *.html)

  37. 2. กด Tools และเลือก Web Options ขั้นตอนนี้ทำแค่ครั้งเดียวตอนบันทึกไฟล์ประเภทนี้ครั้งแรก ครั้งต่อไปข้ามไปและกด Save ได้เลย

  38. 3. เลือกแท็บ Encoding 4. เลือก Unicode(UTF-8) 6. เมื่อกล่อง Web Options หายไป กด Save 5. กด OK เช่นเดียวกับสไลด์ที่แล้วขั้นตอนนี้ทำแค่ครั้งเดียวตอนบันทึกไฟล์ประเภทนี้ครั้งแรก ครั้งต่อไปไม่ต้องทำ

  39. วิธีแปลงไฟล์HTMLเป็น EPUBด้วย Calibre 1. เลือก Add books 2. เลือกไฟล์หนังสือ .htm หรือ .html ที่เราบันทึกาจาก Microsoft Word 3. เลือก Open

  40. 5. เลือก Convert books 6. ใส่ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือ เช่น ชื่อหนังสือ ผู้แต่ง หัวเรื่อง 4. เลือกหนังสือที่เราเพิ่งเพิ่มเข้าไป 7. หากมีรูปหน้าปก เลือกรูปหน้าปก

  41. 9. เลือก Look & feel 10. ทำเครื่องหมายถูกหน้า Remove spacing between paragraphs

  42. 12. เลือก none 11. เลือก Structure detection 13. ลบข้อมูลเดิมออกให้กล่องว่าง

  43. 14. เลือก Table of Contents 15. ทำเครื่องหมายถูกหน้า Do not add detected chapters to the table of contents 16. เลือก OK

  44. 17. เลือก Save to disk 18. เลือก Desktop 19. เลือก Select folder

  45. 21. ไฟล์epub จะอยู่ในโฟลเดอร์ดังกล่าว โดยเป็นไฟล์ที่มีประเภทไฟล์เป็น EPUB File 20. ไฟล์ที่บันทึกไว้จะปรากฏบน Desktop โดยชื่อโฟลเดอร์ตามชื่อผู้แต่งที่ระบุตอนสร้างหนังสือ

  46. ข้อควรระวัง • ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสื่อที่จะนำมาใช้อยู่ภายใต้สัญญาแบบใด • ดัดแปลงได้หรือไม่(มี ND อยู่หรือไม่ - มีแปลว่าไม่ได้) • ใช้เพื่อการค้าได้หรือไม่ (มีNCอยู่หรือไม่ -มีแปลว่าไม่ได้) • ผลงานที่สร้างใหม่ต้องอยู่ภายใต้สัญญาเดิมหรือไม่(มีSA อยู่หรือไม่ - มีแปลว่าต้อง) • อ้างอิงแหล่งที่มาของสื่อเสมอ • กรณีการสร้างe-book ออกแบบโครงสร้างแบบง่ายๆไม่ซับซ้อนและมีหนึ่งคอลัมน์เพื่อการแปลงเป็นไฟล์EPUB ที่สมบูรณ์

  47. สามารถขอสไลด์นี้ได้ที่สามารถขอสไลด์นี้ได้ที่ neelawat@ait.ac.th หัวข้ออีเมล์: ขอสไลด์

More Related