1 / 29

โลกาภิวัตน์ ประชาคมอาเซียน และทิศทางการศึกษาไทย

โลกาภิวัตน์ ประชาคมอาเซียน และทิศทางการศึกษาไทย. ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. Good Morning. How are you today?. Good morning Salamat Paki หนี ห่าว สะบายดี. ทิศทางของกระแสโลก (Globalization).

binh
Download Presentation

โลกาภิวัตน์ ประชาคมอาเซียน และทิศทางการศึกษาไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โลกาภิวัตน์ ประชาคมอาเซียน และทิศทางการศึกษาไทย ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  2. Good Morning.How are you today? • Good morning • Salamat Paki • หนี ห่าว • สะบายดี

  3. ทิศทางของกระแสโลก(Globalization)ทิศทางของกระแสโลก(Globalization) • ภาษาอังกฤษจะมีความสำคัญมากขึ้น • Internet ( 80% ของ Websites ใช้ภาษาอังกฤษ) • การค้าระหว่างประเทศใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก • เพลง, ภาพยนตร์, กีฬา, การศึกษา ใช้ภาษาอังกฤษ • วัฒนธรรมตะวันตก(Anglo-American Culture) จะ แผ่ขยายอย่างรวดเร็ว • เงินตรา, เพลง, ภาพยนตร์, CNN • McDonald, Coca Cola

  4. ทิศทางอาเซียน (ASEAN VISION) • ความเป็นมา • เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • บทบาทของการศึกษา

  5. การเริ่มต้นของอาเซียนการเริ่มต้นของอาเซียน ประชาคมเพื่อประชาชน

  6. ปฏิญญากรุงเทพ(Bangkok Declaration) Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดย ปฏิญญากรุงเทพ เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)

  7. วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน เร่งรัดความเจริญด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก (อาเซียน) และองค์การระหว่างประเทศต่างๆ

  8. ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน(Bali Concord) เป้าหมาย:สร้างประชาคมอาเซียน ภายในปี ค.ศ. 2015 (2558) โดยมี 3 เสาหลัก คือ • ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)

  9. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • เป็นธรรมนูญอาเซียน ( 15 มกราคม 2551) • เป็นข้อผูกพันทางกฎหมาย (Legal Binding) • ใช้ในการกำหนดกรอบ และแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือของอาเซียน • กำหนดให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ (Working Language) ของอาเซียน

  10. เสาหลักความร่วมมือของอาเซียนเสาหลักความร่วมมือของอาเซียน ๑. ด้านการเมืองและความมั่นคง ๒. ด้านเศรษฐกิจ ๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม

  11. เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ เสาการเมือง ความมั่นคง

  12. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงประชาคมการเมืองและความมั่นคง • เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี ร่วมสร้างสังคมประชาธิปไตย • ร่วมกันเผชิญหน้าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพย์ติด การค้ามนุษย์ • มีปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอกอาเซียน

  13. ประชาคมเศรษฐกิจ • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน และเงินทุน พัฒนาฝีมือแรงงาน และให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี • เชื่อมสัมพันธ์เศรษฐกิจอาเซียนกับเศรษฐกิจโลก

  14. ประชาสังคมและวัฒนธรรมประชาสังคมและวัฒนธรรม • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • สร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า

  15. จีน พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : www.thai-canal.com

  16. บทบาทของการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมาย: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านการเมืองและความมั่นคง • สร้างความเข้าใจและความตระหนักเรื่องกฎบัตรอาเซียน • เน้นประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนและสันติภาพในหลักสูตร • เข้าใจและตระหนักในความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อ • ประชุมผู้นำโรงเรียน(Southeast Asia School Principals’ Forum) อย่างสม่ำเสมอ

  17. บทบาทของการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมาย: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านเศรษฐกิจ • พัฒนากรอบทักษะ(Skill Framework) ในแต่ละประเทศ • แลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษา • สนับสนุนการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ (Skilled Labors) • พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  18. บทบาทของการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมาย: ปฏิญญาชะอำ-หัวหิน • ด้านสังคมแลวัฒนธรรม • พัฒนาเนื้อหาสาระร่วมเกี่ยวกับอาเซียนสำหรับโรงเรียน • ให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอาเซียน • ให้มีภาษาอาเซียนเป็นวิชาเลือกในโรงเรียน • ส่งเสริมกิจกรรมเยาวชน เช่น การทัศนศึกษา การแลกเปลี่ยน ประกวดสุนทรพจน์ โรงเรียนสีเขียวอาเซียน เฉลิมฉลองวันอาเซียน( 8 สิงหาคม) ร้องเพลงอาเซียน(ASEAN Anthem) • จัดประชุมวิจัยการศึกษาอาเซียน

  19. ความพร้อมของประเทศสมาชิก: ทัศนคติและการตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำรวจนักศึกษา 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน

  20. คุณรู้สึกว่าเป็นประชาชนอาเซียนมากน้อยเพียงใด % ที่ตอบว่า มาก ถึง มากที่สุด

  21. คุณคุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนแค่ไหน % ที่ตอบว่า ค่อนข้างมาก ถึง มาก

  22. ความรู้เกี่ยวกับวัน/เวลาก่อตั้งอาเซียน: %ที่ตอบถูกต้อง

  23. ความรู้เกี่ยวกับธงอาเซียน:%ที่ตอบถูกต้องความรู้เกี่ยวกับธงอาเซียน:%ที่ตอบถูกต้อง

  24. คุณอยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆมากแค่ไหน:%ที่ตอบว่า อยากรู้มาก ถึง มากที่สุด

  25. ประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจากอาเซียนประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจากอาเซียน • มีความมั่นคงทางการเมือง • เพิ่มการค้า ลดต้นทุนการผลิต (ภาษี 0%) • แก้ไขปัญหาทางสังคม เช่น สารเสพติด โรคระบาด สิ่งแวดล้อม การค้ามนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติ • เพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่เจรจาภายนอกอาเซียน

  26. ประเทศไทยจะเสียประโยชน์อะไรให้อาเซียนประเทศไทยจะเสียประโยชน์อะไรให้อาเซียน • การเคลื่อนย้ายแรงงานไร้ฝีมือจากประเทศเพื่อนบ้าน • ภาวะสมองไหล (Brain Drain) ของแรงงานมีฝีมือ • สัดส่วนของประชากรวันทำงานของไทยเพิ่มในอัตราต่ำ • เจตคติและศักยภาพทางภาษาและวัฒนธรรมของคนไทยเป็นอุปสรรคในการแข่งขัน • ความชัดเจนและต่อเนื่องของนโยบาย

  27. ทิศทางการจัดการศึกษาไทยทิศทางการจัดการศึกษาไทย • การแก้ไขปัญหาเดิม • การตอบสนองอาเซียน • การเตรียมตัวก้าวสู่กระแสโลกาภิวัตน์

  28. การแก้ไขปัญหาเดิม • การประกันโอกาส • การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นภาระหลักของประเทศ • การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาสยังมีปัญหา • การพัฒนาคุณภาพ • คุณภาพผู้เรียนและศักยภาพในการแข่งขัน • คุณภาพครู • การปรับปรุงประสิทธิภาพ • การออกกลางคัน • โรงเรียนขนาดเล็ก

More Related