1 / 14

สหกิจศึกษา ( Cooperative Education) คืออะไร ลักษณะงานของสหกิจศึกษาเป็นอย่าไร

สหกิจศึกษา. สหกิจศึกษา ( Cooperative Education) คืออะไร ลักษณะงานของสหกิจศึกษาเป็นอย่าไร นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติอย่างไร อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา ( Cooperative Advisor) ต้องทำอะไรบ้าง บทบาทของสถานประกอบการกับสหกิจศึกษา กระบวนการและขั้นตอนสหกิจศึกษา การเขียนรายงานสหกิจศึกษา.

bill
Download Presentation

สหกิจศึกษา ( Cooperative Education) คืออะไร ลักษณะงานของสหกิจศึกษาเป็นอย่าไร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สหกิจศึกษา สหกิจศึกษา (Cooperative Education) คืออะไร ลักษณะงานของสหกิจศึกษาเป็นอย่าไร นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติอย่างไร อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา (Cooperative Advisor) ต้องทำอะไรบ้าง บทบาทของสถานประกอบการกับสหกิจศึกษา กระบวนการและขั้นตอนสหกิจศึกษา การเขียนรายงานสหกิจศึกษา http://www.champa.kku.ac.th/stat

  2. สหกิจศึกษา (Cooperative Education) เปนการจัดการศึกษาที่เนน การปฏิบัติงานในสถานประกอบการอยางมีระบบ โดยจัดใหนักศึกษาไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการที่ใหความรวมมือ ทําใหนักศึกษาสามารถเรียนรูประสบการณจากการปฏิบัติงานจริง และทําใหนักศึกษามีคุณภาพตรงตามที่สถานประกอบการตองการมากที่สุด • วัตถุประสงค • 1.2.1 เพื่อเพิ่มประสบการณทางดานการเรียนรูและอาชีพและ ซึ่งเปนรูปแบบการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษา ที่สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบการ • 1.2.2 เพื่อเปดโอกาสใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนไดมีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต และใชความชํานาญและประสบการณของบุคลากรในหนวยงานใหมีสวนรวมในการใหการศึกษาแกบัณฑิต • 1.2.3 เพื่อสงเสริมและสรางความสัมพันธระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ

  3. ลักษณะงานของสหกิจศึกษา • 1.5. 1 นักศึกษาสหกิจศึกษาตองปฏิบัติงานเสมือนหนึ่งเปน พนักงานหรือผูปฏิบัติงาน • 1.5.2 มีหนาที่รับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายอยางชัดเจน • 1.5.3 ปฏิบัติงานทํางานเต็มเวลา • 1.5.4 ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1 ภาคการศึกษา • อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา (Cooperative Advisor) • นักศึกษาสหกิจศึกษาแตละคนตองมี อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา โดยมีหนาที่ดังนี้ • - จัดหา เสนอแนะ และประสานงานกับสถานประกอบการ ในการกําหนดรายละเอียดและมอบหมายการปฏิบัติงานใหนักศึกษาสหกิจศึกษา • - พิจารณาคัดเลือกนักศึกษาที่สมัครเขารวมสหกิจศึกษา • - ออกนิเทศการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา • - ใหคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาแกนักศึกษาสหกิจศึกษา • - รับรองและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจ ศึกษารวมกับสถานประกอบการ • ประสานการจัดกิจกรรมสหกิจศึกษากับคณาจารยใน สาขาวิชา

  4. คุณสมบัตินักศึกษาสหกิจศึกษา นักศึกษาที่มีสิทธิเขารวมสหกิจศึกษา ตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ - เปนนักศึกษาชั้นปที่ 3 ขึ้นไป กรณีที่เปนหลักสูตร 4 ป ชั้นปที่ 4 ขึ้นไปกรณีที่เปนหลักสูตร 5 ป และชั้นปที่ 5 ขึ้นไป กรณีที่เปนหลักสูตร 6 ป - มีผลการเรียนเฉลี่ยไมต่ำกวา 2.00 ในภาคการศึกษา ครบตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกําหนด - ไมเคยตองโทษวินัยนักศึกษา เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย - ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาใหสมัครเรียนรายวิชา สหกิจศึกษา • หนาที่ของนักศึกษาสหกิจศึกษาและขอแนะนําในการปฏิบัติงาน • - ตองผานการปฐมนิเทศ และหรือการ ฝกอบรมครบถวน • - หมั่นฝกฝนและเพิ่มพูนความรูทางวิชาการอยางตอเนื่องกอนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา • - ตั้งใจปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย จากพนักงานที่ปรึกษาอยางเต็มกําลังความสามารถ • - ปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัยหรือขอบังคับของสถานประกอบการ • - หลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแวงในสถานประกอบการทุกกรณี • - ติดตอสงเอกสารที่กําหนด และใหขาวสารการปฏิบัติงาน ของตนเองกับอาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา ตามที่กําหนด หากมีปญหาในการปฏิบัติงานจะตองรีบติดตออาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษาโดยทันที

  5. บทบาทของสถานประกอบการกับสหกิจศึกษา สหกิจศึกษามีรูปแบบและขั้นตอนที่จําเปนจะตองอาศัยความรวมมืออยางใกลชิดจากสถานประกอบการ โดยเฉพาะพนักงานฝายบุคคล หรือฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษยและพนักงานที่ปรึกษา( Job Supervisor) ซึ่งจะเปนผูที่สถานประกอบการมอบหมาย ใหกํากับและดูแลนักศึกษา ในระหวางการฏิบัติงาน ดังนั้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองใหบุคลากรของสถานประกอบการ ไดรับทราบขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ ในการสนับสนุนและสงเสริมการปฏิบัติงานของนักศึกษา เพื่อใหการปฏิบัติงานเป็นไปดวยความเรียบรอยตามที่กําหนดไว และนักศึกษาไดปฏิบัติงานที่เปนประโยชนตอสถานประกอบการมากที่สุด

  6. ฝายบริหารงานบุคคล โดยทั่วไปจะทําหนาที่ประสานงานการรับนักศึกษามาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการฝายบริหารงานบุคคลหรือทรัพยากรมนุษย เปนผูใหคําแนะนําและอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา แกผูบริหารของสถานประกอบการ 3.1.1 ดานระเบียบวินัย ฝายบริหารงานบุคคลจะกําหนดใหนักศึกษาปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานประกอบการนั้น ๆ เสมือนหนึ่งเป็นพนักงานหรือผูปฏิบัติงาน เชน กําหนดเวลาเขาทํางาน การลางาน การแตงกาย 3.1.2 การปฐมนิเทศการเขาปฏิบัติงานในวันแรก และชวงสัปดาห แรก จะเปนชวงเวลาที่นักศึกษามีความวิตกกังวลอยูหลายอยาง นักศึกษา อาจจะเดินทางมาจากตางถิ่น ตองจากครอบครัวและเพื่อน ๆ จึงควรใหความชวยเหลือแนะนําแกนักศึกษา ในเรื่องที่พักอาศัยที่ปลอดภัย การเดินทางมายังที่ทํางาน การเขา- ออก ระเบียบวินัย วัฒนธรรมองคกร ของสถานประกอบการ ที่นักศึกษาจะตองปฏิบัติ การรักษาความปลอดภัย ในการทํางาน ตลอดจนการใหความรูเกี่ยวกับสถานประกอบการโครงสราง การบริหารงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

  7. พนักงานที่ปรึกษา พนักงานที่ปรึกษา หมายถึง บุคลากรหรือเจาหนาที่ที่สถานประกอบการ มอบหมายใหทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของนักศึกษา อาจจะเปนผูบังคับบัญชาหรือหัวหนางานในการปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาปฏิบัติงานจึงเปรียบเสมือนอาจารยของนักศึกษา ณ สถานประกอบการเปนผูที่ใหคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาทั้งทางดานการปฏิบัติงานและการปรับตัวเขากับการปฏิบัติงานของนักศึกษา ดังนั้นพนักงานที่ปรึกษา จึงเปนผูที่มีความสําคัญที่สุดที่จะทําใหการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษาสําเร็จไปดวยดี บทบาทของพนักงานที่ปรึกษาควรเปนดังนี้ 3.2.1 การกําหนดลักษณะงาน (Job Description) และแผนงานการปฏิบัติงาน (Coop Work Plan) 3.2.2 การจัดทํารายงานสหกิจศึกษา นักศึกษาสหกิจศึกษาทุกคน ตองจัดทํารายงานสหกิจศึกษา เสนอตอสถานประกอบการและพนักงานที่ปรึกษาจะเป็นผูมีบทบาท สําคัญที่สุดในการตรวจประเมินรายงานของนักศึกษา รายงานฉบับนี้

  8. 3.2.3 การนิเทศงาน (Student Visiting) อาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษา จะขอนัดหมายกับพนักงานที่ปรึกษาเพื่อเขามานิเทศงาน ณ สถานประกอบการ โดยจะมีหัวขอการหารือกับเจาหนาที่ฝายบุคคลหรือพนักงานที่ปรึกษาในระหวางการนิเทศงาน 3.2.4 การประเมินผลนักศึกษา การประเมินผลรายงาน พนักงานที่ปรึกษาเปนผูมีภาระหนาที่ ในการตรวจแกไขรายงานของนักศึกษา และประเมินผลเนื้อหา และการเขียนรายงาน ภายในสัปดาหสุดทายของการปฏิบัติงานของนักศึกษา การประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานที่ปรึกษาจะเปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามแบบที่มหาวิทยาลัยกําหนด อยางชาที่สุดภายในสัปดาหสุดทายของการปฏิบัติงานของนักศึกษาโดยอาจจะชี้แจงผลการประเมินใหนักศึกษาทราบ จากนั้นมอบผลการประเมินใหนักศึกษานําสงมหาวิทยาลัย ตอไป หรือจะจัดสงผลการประเมินโดยตรงใหกับมหาวิทยาลัย

  9. กระบวนการและขั้นตอนสหกิจศึกษากระบวนการและขั้นตอนสหกิจศึกษา • 4.1 การรับสมัครนักศึกษาสหกิจศึกษา • 4.2 การเตรียมความพรอมนักศึกษากอนออกปฏิบัติงาน(การอบรมนักศึกษา) • 4.2.1 การลงทะเบียนรายวิชาสหกิจศึกษา • 4.2.2 การอบรมสัมมนานักศึกษาสหกิจศึกษากอนไปปฏิบัติงาน โดยหัวข้ออาจประกอบดวยเรื่องตาง ๆ ดังตอไปนี้ • 1. การเลือกงานและสถานประกอบการ • 2. การเขียนใบสมัคร • 3. การเขียนประวัติสวนตัว • 4. การเตรียมตัวสัมภาษณ • 5. การบรรยายพิเศษของสถานประกอบการ • 6. การพัฒนาบุคลิกภาพ • 7. การนําเสนอโครงการ/ผลงาน • 8. ความปลอดภัยในโรงงาน • 9. 5 ส. และการควบคุมคุณภาพ ISO • 4.3 การคัดเลือกสมัครงานและการจัดคู(Matching) • 4.4 การคัดเลือกนักศึกษาโดยสถานประกอบการ • 4.5 คาตอบแทนและสวัสดิการจากสถานประกอบการ • 4.6 การเตรียมตัวและการไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ • 4.7 การนิเทศงานสหกิจศึกษา • 4.8 กิจกรรมภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ

  10. 326 495สหกิจศึกษาทางสารสนเทศสถิติ บริษัท/ องค์กร ภาควิชา ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา (ประมาณ 3 เดือน) จัดปฐมนิเทศนักศึกษา 1 นักศึกษานำเสนอข้อเสนอโครงการโจทย์ปัญหา ฝึกงาน Summer ปี3 (วันเริ่มต้นเข้าทำ สหกิจศึกษาฯ ) คัดเลือก นศ. ที่จะไปสหกิจ ปฏิบัติงาน นิเทศการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เดือนละ 1 ครั้ง ค้นหาโจทย์วิจัยร่วมกับองค์กร ประเมินผลรายงานความก้าวหน้า จัดปฐมนิเทศนักศึกษา 2 (ร่วมกันกับองค์กร ) ประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา นักศึกษาจัดทำข้อเสนอโครงการโจทย์ปัญหา (ร่วมกันกับองค์กร )

  11. นักศึกษาเรียนอะไรมาบ้างแล้วนักศึกษาเรียนอะไรมาบ้างแล้ว ก่อนเข้าโครงการสหกิจศึกษา

  12. แนวคิด

  13. Database & Network • Data Analysis • Data Presentation • Integrated Knowledge ศาสตร์ด้าน วิทยาการคอมฯ ศาสตร์ด้าน บริหารจัดการ • Useful information for Manager ศาสตร์ด้าน สถิติ • Database & Network • Data Analysis • Data Presentation • Data Correction • Database & Network • Data Analysis • Data Presentation เรียนอะไร วิชางาน หลักสูตรสารสนเทศสถิติ : Statistical Information วิชาการ วิชาคน

More Related