1 / 43

บริหารสหกรณ์อย่างไร...ในภาวะวิกฤตการเงิน

บริหารสหกรณ์อย่างไร...ในภาวะวิกฤตการเงิน. สุพัตรา ธนเสนีวัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2 7 พ.ย.51. สินเชื่อซับไพร์ม

betty_james
Download Presentation

บริหารสหกรณ์อย่างไร...ในภาวะวิกฤตการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บริหารสหกรณ์อย่างไร...ในภาวะวิกฤตการเงินบริหารสหกรณ์อย่างไร...ในภาวะวิกฤตการเงิน สุพัตรา ธนเสนีวัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ 27 พ.ย.51

  2. สินเชื่อซับไพร์ม คือ การปล่อยสินเชื่อให้แก่ลูกหนี้ที่มีประวัติทางการเงินไม่ค่อยดี หรือการปล่อยสินเชื่อให้แก่บุคคลที่น่าจะผิดนัดชำระหนี้ เป็นหนี้ด้อยคุณภาพ ส่วนมากเกิดจากการเช่าซื้อที่อยู่อาศัย โดยผู้เช่าซื้อมีฐานะไม่สมควรก่อหนี้แต่สถาบันการเงินก็ให้กู้เกินฐานะ เกินหลักประกัน โดยผู้บริหารสถาบันการเงินนั้นๆอยากเสี่ยง เพราะจะได้ดอกเบี้ยสูง หรือ มีเจตนาไม่สุจริตอย่างอื่นแอบแฝงอยู่ ไม่ได้ดูความต้องการที่แท้จริง บางคนมีบ้านอยู่แล้วก็ให้กู้ไปซื้อบ้าน เพื่อรอขายเอากำไร จนไม่สามารถผ่อนค่างวดได้

  3. วิกฤตการเงินโลก สาเหตุของวิกฤต นโยบายดอกเบี้ยต่ำของ Fed ในช่วงปี พ.ศ. 2544 – 2546 มาตรฐานการปล่อยกู้ที่หย่อนยาน และสร้างแรงจูงใจในการกู้ นำมาซึ่งการปล่อยสินเชื่อที่ไม่เหมาะสม สถาบันการเงินจำนวนมากปล่อย Subprime โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขายต่อออกไป (มุ่งเก็งกำไร) การกำกับดูแลโดยภาครัฐที่ไม่รัดกุมเพียงพอ

  4. ผลตอบแทนที่สูงของตราสารทางการเงิน ประเภท MBS และ CDO ที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อ Subprime ทำให้เกิดการลงทุนในตราสารดังกล่าวเป็นจำนวนมาก ผู้ซื้อตราสารหนี้ประเภท MBS และ CDO ที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อ Subprime พึ่งพิงกับอันดับความน่าเชื่อถือมากเกินไป การประเมินชดเชยความเสี่ยง (risk premium) ที่ผิดพลาดเนื่องจากมีสมมุติฐานในเชิงบวกมากเกินไปเกี่ยวกับภาวะตลาดอสังหาริมทรัพย์ มีความขัดแย้งในผลประโยชน์ (Conflicts of interest) ของหน่วยงานจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

  5. วิกฤตSub –Prime ส่งผลกระทบจนก่อให้เศรษฐกิจโลกวิกฤตได้อย่างไร เมื่อสถาบันการเงินได้ปล่อยสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ไปเป็นจำนวนมากเพื่อลดความเสี่ยงสถาบันการเงินดังกล่าวจึงนำสินเชื่อมาออกตราสารหนี้เพื่อขายในตลาดหลักทรัพย์(คือ แปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ – Securitization) กลุ่ม Sub – Prime Lone ก็จะเป็นตราสารหนี้ที่เรียกว่า Collateralized Debt Obligations(CDO) หรือตราสารหนี้เกรดสอง ซึ่งเป็นการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์แบบที่มีหลักประกัน (Asset Backed Securities) โดยมีธนาคารเพื่อการลงทุน (Investment Bank) และกองทุนเก็งกำไร (Hedge Fund) เป็นผู้ค้ำประกันความเสี่ยง

  6. ดังนั้น เมื่อภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาหดตัว จึงเกิดปัญหาการผ่อนชำระเงินกู้สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากขึ้น ผลกระทบจึงเกิดแก่กลุ่มตราสาหนี้ในตลาดเงินและตลาดหุ้นที่กองทุนเก็งกำไรได้กู้เงินจากธนาคารพาณิชย์ทั่วโลกมาลงทุนใน CDO เมื่อกองทุนเก็งกำไรขาดทุนไม่สามารถชำระดอกเบี้ยให้แก่นักลงทุนได้ จึงต้องเทขายหุ้นที่ลงทุนในตลาดหุ้นต่างๆทั่วโลกเพื่อแลกเปลี่ยนเป็นเงินสดแล้วนำไปวางค้ำประกันเพิ่มเติม ทำให้ตลาดเงินและตลาดหุ้นทั่วโลกปั่นป่วนจากการเทขายหุ้นดังกล่าว เพราะการลงทุนในCDO ไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แต่มีการลงทุนไปทั่วโลก วิกฤตดังกล่าวจึงส่งผลกระทบไปทั่วโลก

  7. ประเมินผลกระทบจากวิกฤตทางอ้อมประเมินผลกระทบจากวิกฤตทางอ้อม ที่ประเทศไทยจะได้รับ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์ มีมูลค่าลดลง ตามแนวโน้มทั่วโลก นักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นเพื่อขนเงินกลับ สภาพคล่องลดลง รายได้จากการส่งออกและการท่องเที่ยวลดลง

  8. หัวใจของปัญหา ความโลภของมนุษย์ ผู้บริหารการเงินทำธุรกิจด้วยความประมาท ไม่ทำหน้าที่หลัก คือ รับฝากเงินและปล่อยกู้แต่นำเงินไปลงทุนในธุรกิจเสี่ยงสูงและ เก็งกำไรเป็นสำคัญ ราคาสินทรัพย์ เช่น อสังหาริมทรัพย์และหุ้น ถูกปั่นให้ปรับตัว สูงขึ้นเกินจริง นักลงทุนไม่คำนึงถึงความเสี่ยง

  9. มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็งของเงินทุน เงินทุนดำเนินงาน 726,126 ล้านบาท ผลตอบแทนต่อส่วนทุน 7 % แหล่งเงินทุน สัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน 0.77 เท่า • ภายในสหกรณ์ 613,438ลบ. 84 % • - เงินรับฝากสมาชิก 198,639 ลบ. 27 % • - ทุนของสหกรณ์ 409,336 ลบ. 56 % • - อื่น ๆ 5,462 ลบ. 1 % • ภายนอกสหกรณ์ 112,688 ลบ. 16 % • - เงินกู้ยืม/ตั๋วเงินจ่าย 109,155 ลบ. 15 % • - เงินรับฝากสหกรณ์ 3,532 ลบ. 1 % • ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น 0.05 เท่า • หนี้สินทั้งสิ้น 316,789 ลบ. • ทุนของสหกรณ์ 409,336 ลบ. การเติบโตทุนของสหกรณ์ 14 % การเติบโตหนี้สิน 4 %

  10. มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์ สินทรัพย์ 726,126 ล้านบาท ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ 4% การลงทุนในสินทรัพย์ อัตราหมุนของสินทรัพย์ 0. 06 รอบ • เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก.29,450ลบ. 4 % • ลูกหนี้ 625,720 ลบ. 86 % (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (1,646) ลบ. (0.2) % • ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ 2,712 ลบ. 0.4 % • หลักทรัพย์/ตราสาร 67,598 ลบ. 9 % • สินทรัพย์อื่น 2,292 ลบ. 0.3 % • หนี้ NPL 247 ลบ. • หรืออัตราการค้างชำระหนี้ 3 % รายได้ธุรกิจหลัก 41,234 ล้านบาท การเติบโตสินทรัพย์ 9 %

  11. มิติที่ 3 ขีดความสามารถในการบริหาร การบริหารจัดการ ขีดความสามารถ/ สมรรถนะของคณะ กรรมการและฝ่าย จัดการ โครงสร้างธุรกิจ • จำนวนสมาชิก 2.3 ล้านคน • ขนาด (ใหญ่มาก-เล็กมาก) 5 ขนาด • ธุรกิจสหกรณ์ • รับฝากเงิน 200,579 ลบ. 26 % • ให้กู้เงิน 570,561 ลบ. 74 % • จัดหาสินค้า 14 ลบ. 0.002 % • มูลค่ารวม771,154 ลบ./ปี • 64,263ลบ./เดือน • การเติบโตของธุรกิจ 9 % การบริหารงานและ การควบคุมภายใน • ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน • ดี-ดีมาก 80 % • พอใช้ 15 % • ปรับปรุง-แก้ไข 5 %

  12. มิติที่ 4 การทำกำไร กำไรสุทธิ 1,171 แห่ง 27,343 ลบ. ขาดทุน 32 แห่ง 4 ลบ. ไม่ดำเนินงาน 12 แห่ง ความสามารถในการทำกำไร อัตรากำไรสุทธิ 66 % กำไร 27,339 ล้านบาท อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก • รายได้ต่อสมาชิก 19,788 บาท/คน • ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก 7,911 บาท/คน • กำไรต่อสมาชิก 11,876 บาท/คน • เงินออมต่อสมาชิก 235,367 บาท/คน • หนี้สินต่อสมาชิก 270,352 บาท/คน กำไรเพิ่มขึ้น 14 % • รายได้ 45,551 ลบ. 100 % • รายได้ธุรกิจ 41,234 ลบ. 91 % • รายได้อื่น 4,317 ลบ. 9 % • ค่าใช้จ่าย 18,212 ลบ. 40 % • ต้นทุนธุรกิจ 12,762 ลบ. 28 % • ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 5,450 ลบ. 12 % • อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร • ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน17 %

  13. มิติที่ 5 สภาพคล่อง สภาพคล่อง ทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.56 เท่า ร้อยละของสินทรัพย์ หมุนเวียน (151,993 ลบ.) ร้อยละของหนี้สิน หมุนเวียน (269,530 ลบ.) • เงินสด 0.1 % • เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ 19 % • ลูกหนี้ระยะสั้น 72 % • หลักทรัพย์/ตราสาร/หุ้น 7 % • สินค้าและหมุนเวียนอื่น 2 % • อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้ • ต่อหนี้ถึงกำหนดชำระ 97 % • เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น 23 % • เจ้าหนี้การค้า 2 % • - เงินรับฝาก 75 % • หนี้สินหมุนเวียนอื่น 0.1 %

  14. มิติที่ 6 ผลกระทบของธุรกิจ ความเสี่ยง ผลกระทบของธุรกิจ • ปัจจัยเสี่ยง • ปัจจัยภายใน • ปัจจัยภายนอก

  15. แนวโน้มจำนวนและสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ ระหว่างปี 2546 - 2550 สมาชิก

  16. แนวโน้ม 2 ธุรกิจหลักสำคัญของสหกรณ์ออมทรัพย์ ระหว่างปี 2546 - 2550 โครงสร้างธุรกิจ

  17. แนวโน้มทุนดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ ระหว่างปี 2546 - 2550 แหล่งทุน

  18. แนวโน้มผลการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ ระหว่างปี 2546 - 2550 ผลตอบแทน เงินออม/หนี้

  19. ปี

  20. ประเด็นที่สหกรณ์ควรระมัดระวังประเด็นที่สหกรณ์ควรระมัดระวัง สหกรณ์ที่ระดมทุนจากแหล่งทุนภายนอก สหกรณ์ที่มีเงินเหลือและนำไปลงทุน สหกรณ์ที่ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืม สหกรณ์ในสถานประกอบการ

  21. สหกรณ์ที่ระดมทุนจากแหล่งทุนภายนอกสหกรณ์ที่ระดมทุนจากแหล่งทุนภายนอก ควรดำเนินนโยบายการบริหารการเงินด้วยความรอบคอบ รัดกุม คำนึงถึงหลักการ Matching Fund รักษาระดับแหล่งเงินทุนจากภายใน ในรูปเงินค่าหุ้น หรือรับฝาก จากสมาชิก สะสมทุนสำรองเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้สหกรณ์มีทุนจาก แหล่งภายในที่เพียงพอ และลดผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยงภายนอก บริหารเงินทุนด้านการใช้เงินทุนให้สมดุลกับที่มาของเงินทุน

  22. สหกรณ์ที่มีเงินเหลือ และนำไปลงทุน ควรดำเนินการด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ก่อนตัดสินใจลงทุน ควรประเมินสถานภาพ ศักยภาพ และความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น ศึกษาเปรียบเทียบ ข้อดี ข้อเสีย

  23. สหกรณ์ที่ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมสหกรณ์ที่ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืม พิจารณางบการเงินของสหกรณ์ผู้ขอกู้ พิจารณาระบบควบคุมภายใน พิจารณาระเบียบการให้เงินกู้แก่สมาชิกของสหกรณ์ผู้ขอกู้

  24. สหกรณ์ในสถานประกอบการสหกรณ์ในสถานประกอบการ ควรติดตามข้อมูลข่าวสาร ทั้งจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวม และใน สถานประกอบการเอง เตรียมการปรับตัวการดำเนินงานของของสหกรณ์ ตามคำแนะนำที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ให้คำแนะนำไว้

  25. งบการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด สินทรัพย์ รายได้ เงินสดรับ (Assets) (Revenues) (Cash Inflow) หนี้สิน รายจ่าย เงินสดจ่าย (Liabilities) (Expenses) (Cash Outflow) ทุน กำไร เงินสดสุทธิ (Equity) (Net Profit) (Net Cash Flow)

  26. งบดุล Liabilities (หนี้สิน) Equity (ทุน) Assets (สินทรัพย์)

  27. สินทรัพย์ (Assets) • เงินสด เงินฝาก • เงินลงทุนระยะสั้น • ลูกหนี้เงินกู้ยืม สินทรัพย์หมุนเวียน : (Current Assets) งบดุล สินทรัพย์ถาวร : (Fixed Assets) • ที่ดิน • โรงงาน • อุปกรณ์ / เครื่องจักร สินทรัพย์อื่น ๆ : (Other Assets) • เงินลงทุน

  28. หนี้สิน (Liabilities) งบดุล • เงินกู้ระยะสั้น • เงินรับฝาก • ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินระยะสั้น : (Current Liabilities) หนี้สินระยะยาว : (Long-term Liabilities) • เงินกู้ระยะยาว • ตราสารหนี้อื่น ๆ

  29. ส่วนของทุน (Equities) งบดุล • ทุนเรือนหุ้น • ทุนสำรอง • ทุนสะสมตามข้อบังคับและอื่นๆ • กำไรสุทธิประจำปี

  30. รายได้ (Revenues) รายได้จากการขายสินค้าและบริการ(Sales & Services) รายได้อื่น ๆ (Other Incomes) งบกำไรขาดทุน รายจ่าย (Expenses) ต้นทุนขายของสินค้าและบริการ (Cost of Goods & Services) ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร (Selling & Admin. Expenses) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (Other Expenses) ดอกเบี้ย (Interest Expenses) กำไรสุทธิ (Net Profit)

  31. รายงานข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดรับ และ กระแสเงินสดจ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละรอบระยะเวลา หนึ่ง ๆ โดยแยกหมวดหมู่เป็น 3 ประเภทกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานกระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน และกระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน งบกระแสเงินสด

  32. CASH INFLOW (+) • CASH OUTFLOW (-) • NET CASH FLOW FROM OPERATING ACTIVITIES (OA) งบกระแสเงินสด • CASH INFLOW (+) • CASH OUTFLOW (-) • NET CASH FLOW FROM INVESTING ACTIVITIES (IA) • CASH INFLOW (+) • CASH OUTFLOW (-) • NET CASH FLOW FROM FINANCING ACTIVITIES (FA) • NET CASH FLOW (1+2+3)

  33. กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน งบกระแสเงินสด การรับและจ่ายกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการดำเนินงานปกติ

  34. กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน งบกระแสเงินสด • ได้รับจาก :การขายหรือให้บริการ ดอกเบี้ยรับ + กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงาน • จ่ายสำหรับ :การซื้อสินค้าเพื่อขายต่อและบริการ เงินเดือนและค่าจ้าง ภาษี/ดอกเบี้ยจากการกู้ยืม -

  35. กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน งบกระแสเงินสด • ได้รับจาก :การขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การขายหรือการครบกำหนดของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ + กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน • จ่ายสำหรับ :การซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ การซื้อเงินลงทุนในหลักทรัพย์ -

  36. กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน งบกระแสเงินสด • ได้รับจาก :การกู้ยืมจากเจ้าหนี้ การขายหุ้นให้แก่เจ้าของ + กระแสเงินสด จากกิจกรรม การจัดหาเงิน • จ่ายสำหรับ :ชำระคืนเงินต้นให้เจ้าหนี้ เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น -

  37. จำนวนเงินที่ได้รับจากการจัดหาจำนวนเงินที่ได้รับจากการจัดหา เงินทุนจากภายนอกกิจการ ความสามารถในการก่อให้เกิด เงินสดจากการดำเนินงาน การบริหารสินทรัพย์หมนุเวียน และหนี้สินหมุนเวียน รายจ่ายสำหรับ สินทรัพย์ระยะยาว ประโยชน์ของงบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสดให้ความสำคัญกับ :

  38. การตีความหมายกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานการตีความหมายกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน งบกระแสเงินสด * ในระยะยาว กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน ต้องเป็นบวกสำหรับกิจการที่จะประสบความสำเร็จ* แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของกระแสเงินสดจากการ ดำเนินงาน แสดงถึงการเจริญเติบโต และ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน

  39. C B A INVESTING OPERATING ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 งบการเงินหลัก Profit & Loss Revenue Expenses PROFIT Balance Sheet Total Liabilities Assets Equity FINANCING Cash Flow Statement Cash Flow (+) Cash Flow (-) Net Cash Flow

  40. ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง บริหารแบบพอเพียง ดำเนินธุรกิจให้เหมาะสม และสอดคล้องกับศักยภาพของสหกรณ์ ไม่สร้างความเสี่ยงเกินกำลัง ควบคู่คุณธรรม ความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร อดทน และ เอื้อเฟื้อแบ่งปัน

  41. สินทรัพย์ หนี้สิน งบดุลส่วนบุคคล เจ้าหนี้ค่าบ้าน 3.5 ล้านบาท เจ้าหนี้ค่ารถยนต์ 1.0 ล้านบาท เจ้าหนี้ค่าบัตรเครดิต 0.2ล้านบาท 4.7 ล้านบาท บ้าน 6.0 ล้าน รถยนต์ 2 คัน 2.0 ล้าน เงินสด 0.1 ล้าน เงินลงทุน 0.5 ล้าน เฟอร์นิเจอร์ 1.5 ล้าน เครื่องประดับ 0.3 ล้าน หนี้ให้ญาติยืม 0.3 ล้าน รวม 10.7ล้าน ทุน เงินลงทุน/เงินสะสม 6.0 ล้านบาท รวม 10.7 ล้านบาท

  42. ระยะยาวสหกรณ์ควรเตรียมการอย่างไรระยะยาวสหกรณ์ควรเตรียมการอย่างไร สหกรณ์ควร วางแผน และรณรงค์เงินออมในสหกรณ์ให้เพิ่มขึ้น อย่างจริงจัง ทบทวนการบริหารการเงิน และหลักเกณฑ์การให้เงินกู้แก่สมาชิก คำนึงถึง Matching Fund สร้างวินัยทางการเงินทั้งผู้บริหารและสมาชิกสหกรณ์/ยึดเศรษฐกิจ พอเพียง ให้ความรู้และทำความเข้าใจเรื่องการบริหารการเงินของสหกรณ์

More Related