1 / 36

การพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดย นางอัมรา ธำรงทรัพย์

การพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดย นางอัมรา ธำรงทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด. จากการสำรวจระดับสติปัญญา ปี 2554. ตารางแสดงผลการจัดอันดับ IQ รายจังหวัด. ทั้ง 4 จังหวัดในเขตเครือข่ายบริการ มี IQ เฉลี่ย < 100 ( สีแดง ).

betsy
Download Presentation

การพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดย นางอัมรา ธำรงทรัพย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนการพัฒนาสติปัญญาด้วยการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดย นางอัมรา ธำรงทรัพย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด

  2. จากการสำรวจระดับสติปัญญาจากการสำรวจระดับสติปัญญา ปี 2554

  3. ตารางแสดงผลการจัดอันดับ IQ รายจังหวัด ทั้ง 4 จังหวัดในเขตเครือข่ายบริการ มี IQ เฉลี่ย < 100 (สีแดง)

  4. ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2555 เป้าหมาย 150 - 249 ไมโครกรัม/ลิตร

  5. ระดับไอโอดีนในปัสสาวะเด็ก 3 – 5 ปี (ไมโครกรัม) (ร้อยละ) จากการสัมภาษณ์ เด็กจะได้บริโภค อาหารทะเล นม ไข่ไก่ สาหร่ายสำเร็จรูป และขนมขบเคี้ยว ทำให้ระดับไอโอดีนปัสสาวะอยู่ในระดับขาดมีไม่มาก แต่ควรระวังในเรื่องได้รับไอโอดีนเกิน

  6. ระดับไอโอดีนในปัสสาวะผู้สูงอายุระดับไอโอดีนในปัสสาวะผู้สูงอายุ ภาวะขาดสารไอโอดีนในผู้สูงอายุ จากการสัมภาษณ์พบว่า อาหารทะเลไม่ชอบบริโภค บริโภคได้น้อย เครื่องปรุงรสส่วนใหญ่ที่ใช้ในการปรุงรสคือปลาร้าและเกลือ ซึ่งเป็นเกลือสินเธาว์ ดังนั้นควรพัฒนาความรู้และความครอบคลุมการใช้เกลือเสริมไอโอดีนและเร่งพัฒนาหมู่บ้านไอโอดีนให้มีคุณภาพ

  7. ภาวะขาดสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด(ประเมินจาก TSH) เกณฑ์อย่างหนึ่งที่ใช้ประเมินภาวะขาดสารไอโอดีนในกลุ่มประชากร คือ ร้อยละของจำนวนทารกแรกเกิดที่มี ค่า TSH >11.2 mU/L เป้าหมาย<3 ร้อยละ ข้อมูล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ขอนแก่น ปีงบประมาณ 2555

  8. แนวโน้มภาวะขาดสารไอโอดีนเครือข่ายที่ 7 ปี พ.ศ. 2550 – 2555 ร้อยละ ปีงบประมาณ แหล่งข้อมูล : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  9. การแบ่งระดับผลไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด (TSH) 1. เกณฑ์ของ WHO ในการเปรียบเทียบกับเขตอื่น ซึ่งเป็นมาตรฐานสากล  ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 – 19.9 ร้อยละ 20 – 39.9 > ร้อยละ 40 2.เกณฑ์ที่เครือข่ายที่ ๗ กำหนด เพื่อประเมินความรุนแรง ชี้เป้าจัดการปัญหา  ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 - 10 > ร้อยละ 10 สีเหลือง สีเขียว สีฟ้า สีแดง สีเขียว สีเหลือง สีแดง

  10. สถานการณ์ขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล เครือข่ายที่ 7

  11. ร้อยละการขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล เครือข่ายที่ 7

  12. สถานการณ์ขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล เครือข่ายที่ 7

  13. ร้อยละของตำบลที่ทารกแรกเกิดขาดไอโอดีน (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 เครือข่ายที่ 7

  14. สถานการณ์ขาดไอโอดีนของทารกแรกเกิด (TSHมากกว่า 11.2 mU/L) ปีงบประมาณ 2555 รายตำบล จังหวัดร้อยเอ็ด

  15. ร้อยละค่าTSH >11.2 mU/L ณ เมษายน 2556

  16. การตรวจคุณภาพเกลือ ปี 2556 จำนวนที่ตรวจ 36,653 ครัวเรือน <20ppm 2,660 ( 7.25% ) 20-40 ppm 19,414 ( 52.96% ) > 40 ppm 14,579 ( 39.77 % )

  17. เราจะต้องช่วยกัน เพื่อให้เด็กร้อยเอ็ด ได้รับการป้องกัน จากภาวะสติปัญญาด้อย

  18. ยุทธศาสตร์ การผลิต กระจาย เกลือเสริมไอโอดีน มีคุณภาพ การจัดทำระบบ เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล โครงการ การใช้มาตรการ เสริม สร้างความเข้มแข็ง ให้ อปท. ภาคีเครือข่าย การศึกษาวิจัย ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ เพื่อการบริโภค เกลือเสริมไอโอดีน

  19. มาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรงมาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรง

  20. มาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรงมาตรการแก้ไขปัญหาตามระดับความรุนแรง

  21. ความคาดหวังในการขับเคลื่อนความคาดหวังในการขับเคลื่อน • ความครอบคลุมของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ ( ≥ 30 ppm) ร้อยละ 90 • ระดับ TSH ทารกแรกเกิดอายุ 2-7 วัน ไม่เกิน 11.2มิลลิกรัม/ลิตร น้อยกว่าร้อยละ 3 • ระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 ไมโครกรัม/ลิตร ร้อยละ 50

  22. กิจกรรม

  23. กิจกรรม • กิจกรรมที่ 1 การจัดมหกรรม “เด็กอีสานจะฉลาด ถ้าไม่ขาดไอโอดีน” • กิจกรรมที่ 2 การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีน(Iodize oil capsule) • กิจกรรมที่ 3 การเฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์(ตรวจไอโอดีนในปัสสาวะ) • กิจกรรมที่ 4 สื่อและประชาสัมพันธ์ • กิจกรรมที่ 5 ติดตามประเมินผล

  24. การบริหารจัดการการใช้ Iodine oil capsule 1.จัดซื้อยา Iodine oil capsule โดย จังหวัด คำนวณเป้าหมายจากจำนวนหญิงตั้งครรภ์

  25. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ทั้งจังหวัด 3,439 รายNode 1 เกษตรวิสัย

  26. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 2 โพนทอง

  27. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 3 เสลภูมิ

  28. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 4 สุวรรณภูมิ

  29. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 5 พนมไพร

  30. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์Node 6 รพ.ร้อยเอ็ด

  31. 2.การจัดเก็บและบริหารการเบิกจ่ายยาที่โรงพยาบาล2.การจัดเก็บและบริหารการเบิกจ่ายยาที่โรงพยาบาล 3.การจ่ายยาแก่หญิงตั้งครรภ์ Kick off วันที่ 3 มิถุนายน 56 ที่ ศูนย์อนามัยที่6 ขอนแก่น

  32. 4.แนวทางการจ่ายยาแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มา ANC ครั้งแรก ดังนี้ 4.1ให้ความรู้เรื่อง Iodine oil capsule เกี่ยวกับ ประโยชน์ และผลข้างเคียงของการใช้ยา 4.2 ให้หญิงตั้งครรภ์ตัดสินใจเลือกใช้ยา 4.3 ให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานยาต่อหน้าเจ้าหน้าที่ 4.4 ลงบันทึกการให้ยา 2 แห่ง คือ ประทับตรายาง รับยา Iodized oil แล้ว ที่มุมขวาบนของ OPD card และที่สมุดสีชมพู รับยา Iodized oil แล้ว ที่มุมขวาหน้าบันทึกการฝากครรภ์ (หน้า 13) เพิ่มปั๊มตรายางที่กระดาษซับเลือด

  33. ติดตามประเมินผล • ตรวจ Maternal urine Iodine ก่อนและหลัง • ครั้งที่ 1 (ก่อน) ANC ครั้งแรก ครั้งที่ 2 (หลัง) ANC 36 สัปดาห์-หลังคลอดไม่เกิน 1 ด. • จ.ร้อยเอ็ด สุ่มตรวจ 375 ตัวอย่าง(10.90%) โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ขอนแก่น

  34. ขอแสดงความขอบคุณ

  35. สวัสดี

More Related