1 / 49

กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง. นายธีระศักดิ์ เชยชื่น สำนักการอนุญาตและกำกับวิทยุคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) โทร. 0 2271 0151 – 60 ต่อ 551 มือถือ 08 1833 6150.

beck-head
Download Presentation

กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคมกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นายธีระศักดิ์ เชยชื่น สำนักการอนุญาตและกำกับวิทยุคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) โทร. 0 2271 0151 – 60 ต่อ 551 มือถือ 08 1833 6150

  2. พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกาศ กสทช. เรื่อง การใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ (Synthesizer) ของหน่วยของรัฐ ประกาศ กสทช. เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตและการกำกับดูแลการใช้คลื่นความถี่กลางสำหรับการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและประชาชน

  3. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 • เป็นกฎหมายว่าด้วยการบริหารความถี่วิทยุ • วัตถุประสงค์ • ให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ • ปราศจากการรบกวน • ใช้ความถี่วิทยุได้อย่างเพียงพอและเท่าเทียมกัน

  4. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 เจตนารมณ์ กำหนดการใช้ความถี่วิทยุ - การจัดสรรความถี่วิทยุ กำกับดูแลการใช้ความถี่วิทยุ - ออกใบอนุญาต - ออกกฎ ระเบียบ - กำหนดมาตรฐานเครื่องวิทยุคมนาคม - การดำเนินคดี

  5. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 ความถี่วิทยุ หรือ คลื่นความถี่ หรือ คลื่นแฮรตเซียน : คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ระหว่าง 10 กิโลไซเคิลต่อวินาที และ 3,000,000 เมกกะไซเคิลต่อวินาที (ไซเคิลต่อวินาที เท่ากับ เฮิรตซ์) วิทยุคมนาคม : การส่งหรือการรับเครื่องหมายสัญญาณ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียงหรือการอื่นใด ซึ่งสามารถให้เข้าในความหมายคลื่นแฮรตเซียน เครื่องวิทยุคมนาคม : เครื่องส่งวิทยุคมนาคม เครื่องรับวิทยุคมนาคมหรือเครื่องรับและส่งวิทยุคมนาคม แต่ไม่รวมตลอดถึงเครื่องรับวิทยุกระจายเสียง เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ และเครื่องส่ง เครื่องรับหรือเครื่องรับและส่งวิทยุคมนาคมด้วยคลื่นแฮรตเซียนตามลักษณะหรือประเภทที่กำหนดในกฎกระทรวง

  6. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 อุปกรณ์วิทยุคมนาคม : อุปกรณ์ของเครื่องวิทยุคมนาคมที่ถือว่าเป็นเครื่องวิทยุคมนาคม ประกอบด้วย สายอากาศ เครื่องขยายกำลังส่ง (RF AMP.) อุปกรณ์วิทยุคมนาคมตามประกาศ กสทช. หากนำไปประกอบเข้า หรือใช้กับเครื่องวิทยุคมนาคมที่ได้รับใบอนุญาตแล้วให้อุปกรณ์นั้นได้รับยกเว้นไม่ต้องได้รับใบอนุญาตอีก

  7. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 6 , 7 , 8 และ 11 ผู้ที่มีความประสงค์จะดำเนินการดังต่อไปนี้ จะต้องได้รับใบอนุญาตวิทยุคมนาคมจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต : ทำ มี ใช้ นำเข้า นำออก หรือค้า ซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม กระทำหน้าที่พนักงานวิทยุคมนาคม รับข่าววิทยุคมนาคมต่างประเทศเพื่อการโฆษณา ตั้งสถานีวิทยุคมนาคม (1) ใช้ความถี่วิทยุตามข้อบังคับวิทยุ หรือตารางกำหนดความถี่แห่งชาติ (2) กรณีตั้งสถานีวิทยุคมนาคมในเขตปลอดภัยเดินอากาศต้องได้รับอนุญาต จากกรมการขนส่งทางอากาศ (3) ชำระค่าตอบแทนในการใช้ความถี่วิทยุ

  8. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 มาตรา 9 และประกาศ กสทช.

  9. ลักษณะของใบอนุญาต พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 เป็นสิทธิเฉพาะตัว ออกให้เฉพาะบุคคล และเฉพาะเครื่องวิทยุ โอนเครื่องวิทยุได้ แต่โอนใบอนุญาตไม่ได้

  10. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 • ข้อห้ามในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม • ส่งหรือจัดให้ส่งข้อความเท็จ หรือที่ไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ • (มาตรา 16) • ใช้เครื่องวิทยุคมนาคมเพื่อประโยชน์นอกเหนือจากราชการหรือที่กำหนดในใบอนุญาต (มาตรา 12) • จงใจกระทำให้เกิดการรบกวนหรือขัดขวางต่อการวิทยุคมนาคม (มาตรา 26) • ไม่ปฏิบัติตามที่เจ้าพนักงานสั่งการ เมื่อกระทำให้เกิดการรบกวนหรือขัดขวาง • ต่อการวิทยุคมนาคมโดยไม่เจตนา (มาตรา 15) • ดักรับไว้หรือใช้ประโยชน์ซึ่งข่าววิทยุคมนาคมที่มิได้มุ่งหมายเพื่อประโยชน์สาธารณะ (มาตรา 17) • ใช้ความถี่วิทยุที่ไม่ได้รับอนุญาต (มาตรา 11)

  11. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498

  12. พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 • การดำเนินคดีความผิด • การดำเนินคดีทางศาล • การเปรียบเทียบปรับโดยเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต การเปรียบเทียบคดี (กสทช.) กระบวนการที่ให้คดีเสร็จสิ้นไปโดยเร็วไม่ต้องนำคดีสู่ศาล หลักเกณฑ์ - กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่ามิได้เป็นการกระทำผิดร้ายแรงจนต้องได้รับโทษจำคุก - ผู้ต้องหาให้การรับสารภาพตลอดข้อกล่าวหา - กสทช. หรือพนักงานเจ้าหน้าที่กำหนดค่าปรับ - ผู้กระทำผิดชำระค่าปรับภายใน 15 วัน

  13. หน่วยงานที่ได้รับยกเว้นการได้รับใบอนุญาต ( มาตรา 5 ) พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 กระทรวง ทบวง กรม นิติบุคคลในกฎกระทรวง จังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุขาภิบาล กทม. เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนตำบล สภาตำบล

  14. Synthesizer เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 เครื่องที่ผู้ใช้สามารถตั้งความถี่ได้เองจากภายนอกเครื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 เครื่องที่ผู้ใช้ไม่สามารถตั้งความถี่ได้เองจากภายนอกเครื่อง

  15. Synthesizer หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 มีหน้าที่ป้องกันและรักษาความมั่นคงของประเทศ ป้องกันและปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมายที่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประเทศ อารักขาบุคคลสำคัญของประเทศ อารักขาบุคคลสำคัญของต่างประเทศที่มาเยือนประเทศไทย ถวายความปลอดภัยแด่ในหลวง และพระบรมวงศานุวงศ์

  16. Synthesizer หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 อาทิเช่น กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สนง.ตำรวจแห่งชาติ สนง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สนง. กสทช. กรมศุลกากร สำนักข่าวกรองแห่งชาติ สนง. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) กระทรวงมหาดไทย (เฉพาะตำแหน่งระดับสูง) กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  17. Synthesizer หน่วยงานที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 หน่วยงานราชการอื่นที่ไม่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคม แบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 1 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ

  18. Synthesizer บุคคลที่มีสิทธิใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ประเภท 2 เป็นหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ความถี่วิทยุ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานองค์กรของรัฐ ลูกจ้างประจำ พนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน กำนัน สารวัตรกำนัน แพทย์ประจำตำบล บุคคลธรรมดาที่ได้รับอนุญาตให้ร่วมใช้ความถี่วิทยุกับหน่วยงาน

  19. Synthesizer คุณสมบัติ : ต้องผ่านการฝึกอบรมการใช้เครื่อง SYNTHESIZER ประเภท 2 ต้องไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมเป็นที่เสียหายหรือเป็นภัยต่อสังคม หรือความมั่นคงของชาติ ต้องผ่านการฝึกอบรมตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการสื่อสาร ต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจ แล้วแต่กรณี ว่ามีความจำเป็นต้องใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่

  20. หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ มีหน้าที่ดังนี้ จัดหาเครื่องวิทยุคมนาคมมาโดยชอบด้วยกฎหมาย ควบคุมการรับ-ส่งข่าวสารทางเครื่องวิทยุคมนาคมฯ จัดให้มี - บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม (รับรองตัวบุคคล) - บัตรประจำเครื่องวิทยุคมนาคม (รับรองเครื่องว่าเป็นของหน่วยงาน) กำหนดทะเบียนควบคุมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม จัดทำบัญชีคุมการเบิกจ่ายเครื่องวิทยุคมนาคม จัดทำคู่มือการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม จัดฝึกอบรมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานในการตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้

  21. Synthesizer มาตรการกำกับดูแล ตักเตือนด้วยวาจา ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร ระงับการใช้คลื่นความถี่ หรือพักใช้ใบอนุญาต ยกเลิกการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ หรือเพิกถอนใบอนุญาต ดำเนินการตามกฎหมาย

  22. ความถี่กลาง หลักเกณฑ์ ให้ใช้คลื่นความถี่กลางร่วมของหน่วยงานของรัฐ สำหรับติดต่อประสานงานในการปฏิบัติหน้าที่ และภารกิจร่วมกันในการสนับสนุนงานของหน่วยงานของรัฐ ทั้งในภาวะปกติและกรณีประเทศเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน

  23. ความถี่กลาง ข้อกำหนดและแนวทางปฏบัติ ภายหลังจากที่ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ให้ดำเนินการบรรจุคลื่นความถี่กลางได้ ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลการใช้คลื่นความถี่กลาง สำหรับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระดับประเทศ กรม ปภ. ระดับเขตภูมิภาค ศูนย์ ปภ.เขต ระดับจังหวัด สำนักงาน ปภ.จ. กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ หน่วยงานที่ไม่เกี่ยวข้องจะต้องระงับการใช้คลื่นความถี่กลางทันที

  24. ความถี่วิทยุกลางสำหรับการติดต่อประสานงานระหว่างความถี่วิทยุกลางสำหรับการติดต่อประสานงานระหว่าง ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ สำหรับการติดต่อสื่อสารแบบ ซิมเพล็กซ์ (Simplex) และ เซมิดูเพล็กซ์ (Semi-duplex)

  25. ความถี่วิทยุกลางร่วมภาครัฐกรณีแจ้งเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติความถี่วิทยุกลางร่วมภาครัฐกรณีแจ้งเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ ความถี่วิทยุกลางร่วมภาครัฐ-ประชาชนกรณีแจ้งเหตุฉุกเฉิน หรือภัยพิบัติ

  26. ขั้นตอนการร่วมข่ายสื่อสารขั้นตอนการร่วมข่ายสื่อสาร ขออนุญาตร่วมข่ายกับ หน่วยงาน หน่วยงานยื่นขออนุญาตกับ กสทช. ผ่านการอบรมหลักสูตร SYNTHESIZER กสทช. แจ้งผลการอนุญาตให้หน่วยงาน หน่วยงานออกบัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องฯ จัดหาเครื่องวิทยุฯ ตามเงื่อนไขการอนุญาต อนุญาตให้ร่วมข่ายสื่อสารของราชการ เฉพาะเครื่องวิทยุคมนาคม ชนิดมือถือ เท่านั้น ยื่นขอรับใบอนุญาตวิทยุคมนาคม

  27. ความถี่ที่ได้รับอนุญาตความถี่ที่ได้รับอนุญาต ความถี่กลาง 4 ความถี่ ความถี่หน่วยงาน ก. ความถี่หน่วยงาน ข. ความถี่หน่วยงาน ค.

  28. การติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ คน (พนักงานวิทยุ) ความถี่วิทยุ เครื่องวิทยุคมนาคม

  29. ตารางข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศตารางข้อบังคับวิทยุระหว่างประเทศ

  30. ตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติ

  31. กำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคมกำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคม มาตรฐานทางเทคนิคของเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เรื่อง เครื่องวิทยุคมนาคมในกิจการเคลื่อนที่ทางบก ย่านความถี่วิทยุ VHF/UHF

  32. กำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคมกำลังส่งของเครื่องวิทยุคมนาคม

  33. การพกพาเครื่องวิทยุคมนาคมการพกพาเครื่องวิทยุคมนาคม ควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย พกพาเครื่องวิทยุคมนาคมให้มิดชิด ตำแหน่งที่พกพาเครื่องวิทยุคมนาคมต้องเหมาะสม ไม่ควรพกพาเครื่องวิทยุคมนาคมในลักษณะโอ้อวด

  34. เครื่องวิทยุคมนาคมของทางราชการเครื่องวิทยุคมนาคมของทางราชการ บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม บัตรประจำเครื่องวิทยุคมนาคม เครื่องวิทยุคมนาคมส่วนตัวร่วมข่ายราชการ บัตรประจำตัวผู้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม ใบอนุญาตให้ใช้เครื่องวิทยุคมนาคม เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  35. เอกสารหลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาตเอกสารหลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคมร่วมข่ายราชการ แบบคำขอรับใบอนุญาต (แบบ ฉก.2) สำเนาหนังสืออนุญาตขยายข่ายสื่อสารจาก กสทช. ของหน่วยงานที่ให้ร่วมข่ายสื่อสาร รายละเอียดของเครื่องวิทยุคมนาคม (ตราอักษร รุ่น/แบบ หมายเลขเครื่อง เลขทะเบียนวิทยุคมนาคม) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต

  36. ห้ามรับส่งข่าวทางธุรกิจการค้าห้ามรับส่งข่าวทางธุรกิจการค้า ห้ามใช้ถ้อยคำที่ไม่สุภาพหรือคำหยาบคาย ห้ามรับส่งข่าวสารอันมีเนื้อหาละเมิดต่อกฎหมายบ้านเมือง ห้ามส่งเสียงดนตรี รายการบันเทิง รายการโฆษณาทางธุรกิจ ห้ามส่งสัญญาณรบกวนโดยจงใจต่อการสื่อสารของสถานีอื่น ห้ามติดต่อสื่อสารกับสถานีที่ไม่ได้รับอนุญาต ห้ามใช้สัญญาณเรียกขานปลอมหรือแอบอ้างใช้สัญญาณเรียกขาน ของผู้อื่น ข้อห้ามและข้อควรงดเว้น

  37. ห้ามให้ผู้อื่นที่ไม่มีใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคมหรือใช้สถานีวิทยุ (ผิดมือ) เว้นแต่เครื่องได้รับยกเว้นใบอนุญาต ห้ามใช้รหัสอื่นในการติดต่อสื่อสารนอกจากรหัสที่กำหนดให้ใช้ (รหัส ว.) ห้ามแสดงอารมณ์ขุ่นเคืองหรือโกรธในการติดต่อสื่อสาร ห้ามแย่งใช้ช่องความถี่ในการติดต่อสื่อสาร ห้ามติดต่อสื่อสารในขณะมึนเมาสุราหรือควบคุมสติไม่ได้ ห้ามพูดเยาะเย้ย ถากถาง กระแนะกระแหน พูดจาหยอกล้อกัน ข้อห้ามและข้อควรงดเว้น (ต่อ)

  38. เรียงลำดับข้อความที่จะส่งเรียงลำดับข้อความที่จะส่ง ส่งข่าวเร่งด่วนก่อน แบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ควรใช้คำย่อที่กำหนดให้ใช้ในข่ายสื่อสารนั้น การขัดจังหวะต้องดูช่วงเวลาที่สถานีจบข้อความสำคัญๆ แล้ว หลักปฏิบัติในการส่งข่าว

  39. สัญญาณเรียกขาน หมายถึง การนำตัวอักษร หรือตัวเลขรวมทั้งคำพูด มาใช้แทนชื่อสถานีหรือข่ายสถานีในการปฏิบัติการสื่อสารในการส่งข่าว สัญญาณเรียกขาน กำหนดขึ้นเพื่อ (1) เป็นชื่อเรียกขานประจำตัวพนักงานวิทยุคมนาคม (2) เป็นชื่อเรียกขานของสถานีวิทยุคมนาคม สัญญาณเรียกขาน (Call Sign)

  40. ตัวอย่างสัญญาณเรียกขานในข่ายราชการ/รัฐวิสาหกิจตัวอย่างสัญญาณเรียกขานในข่ายราชการ/รัฐวิสาหกิจ สายลม :สำนักงาน กสทช. เสมา :กระทรวงศึกษาธิการ ศิลา :มหาวิทยาลัยรามคำแหง สามัญ :กรมสามัญศึกษา

  41. สัญญาณวิทยุ (รหัส ว.) ว 00 :โปรดคอยสักครู่ ว 1 :ขอทราบที่อยู่ ว 2 :ได้ยินหรือไม่ ว 4 :ออกไปปฏิบัติการตามปกติ ว 5 : ความลับ ว 13 :ให้ติดต่อทางโทรศัพท์ ว 16 :ทดสอบสัญญาณ ว 40 :มีอุบัติเหตุรถชน ว 61 :ขอบคุณสวัสดี

  42. สัญญาณแจ้งเหตุ เหตุ 111 :ลักทรัพย์ เหตุ 141:ปล้นทรัพย์ เหตุ 200 :มีเหตุประทุษร้ายต่อร่างกาย เหตุ 241 :เหตุฆ่าคนตาย เหตุ 510 : วัตถุต้องสงสัยเกี่ยวกับระเบิด เหตุ 602 :นักเรียนก่อเหตุหลบหนีไปแล้ว

  43. ใช้ความถี่วิทยุที่ถูกต้อง โดยได้รับการจัดสรรจากกรมไปรษณีย์โทรเลข (เดิม) / กทช. / กสทช. เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้งานต้องถูกต้องตามกฎหมาย พนักงานวิทยุต้องปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบียบที่ เกี่ยวข้อง การติดต่อสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ

  44. ขอบคุณครับ

More Related