1 / 18

การจ่ายงาน ( Process Management)

บทที่ 3. การจ่ายงาน ( Process Management). พื้นฐานกรทำงานของคอมพิวเตอร์. หัวใจในการทำงานของระบบปฏิบัติการ คือ การจัดการให้งานหรือโปรแกรมต่าง ๆ ของผู้ใช้ และโปรแกรมของระบบสามารถทำงานได้ เพื่อให้สามารถมองเห็นโครงสร้างและหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการได้อย่างชัดเจน.

baylee
Download Presentation

การจ่ายงาน ( Process Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management)

  2. พื้นฐานกรทำงานของคอมพิวเตอร์พื้นฐานกรทำงานของคอมพิวเตอร์ หัวใจในการทำงานของระบบปฏิบัติการ คือ การจัดการให้งานหรือโปรแกรมต่าง ๆ ของผู้ใช้ และโปรแกรมของระบบสามารถทำงานได้ เพื่อให้สามารถมองเห็นโครงสร้างและหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการได้อย่างชัดเจน

  3. นิยามความหมายของโปรเซส (Process) • เป็นโปรแกรมที่กำลังทำงาน • เป็นส่วนของโปรแกรมที่กำลังทำงาน • งานที่ได้ครองซีพียู

  4. การจัดการกับโปรเซส • สร้างโปรเซสและยกเลิกโปรเซส • ควบคุมการทำงานของโปรเซส • ควบคุมความผิดพลาดแต่ละโปรเซส • เตรียมทรัพยากรใช้งานแต่ละโปรเซส • ควบคุมการสื่อสารระหว่างโปรเซส

  5. รูปแบบของโปรเซส • แสดงการทำงานของระบบหลายโปรแกรม โดยโปรเซสแต่ละโปรเซสที่ทำงานอยู่จะถูกเก็บในหน่วยความจำ • ระบบจะทำงานทีละโปรเซสและสลับการทำงานไปยังโปรเซสอื่น ๆ ในระบบ และวนกลับมาใหม่เรื่อย ๆ จนกระทั่งเสร็จงาน One Program Counter Process Switch

  6. รูปแบบของโปรเซส Four Program Counter A B C D • แสดงการทำงานของแต่ละโปรเซสในมุมมองของผู้ใช้ แต่ละโปรเซสจะทำงานอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าซีพียูจะมีการสลับเวลาไปทำงานให้กับโปรเซสอื่น โปรเซสที่เหลือจะคอยลำดับงานเพื่อรอการทำงาน เมื่อได้ครองซีพียูและวนรอบกลับมาทำงาน จะทำงานจุดเดิมที่ค้างไว้ โปรแกรมเคาเตอร์ (Program Counter)

  7. รูปแบบของโปรเซส Process D C B A Time • แสดงการทำงานของโปรเซส จะเห็นว่าในช่วงเวลาหนึ่งจะมีเพียงโปรเซสเดียวเท่านั้นที่ได้ครองซีพียู ในขณะที่โปรเซสอื่นต้องคอยที่จะครองซีพียู

  8. สถานะของโปรเซส (Process Status) • สถานะการทำงาน (Running) • สถานะพร้อม (Ready) • สถานะติดขัด (Blocked) หรือ สถานะพัก (Suspend)

  9. สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะการทำงาน (Running) เป็นสถานะที่โปรเซสกำลังครอบครองซีพียูอยู่ และใช้ซีพียู ในการทำงาน โดยใช้ซีพียูทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมของโปรเซสนั้น

  10. สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะพร้อม (Ready) เป็นสถานะที่โปรเซสคอยที่จะเข้าครองซีพียู หรือพร้อม ที่จะใช้ซีพียูทันทีที่ระบบปฏิบัติการมอบหมายให้ในสถานะนี้ไม่มีการทำงานของโปรเซส แต่การทำงานจะเกิด ขึ้นทันทีที่ได้ครองซีพียู โดยจะทำงานต่อจากงานเดิมที่ทำค้างไว้

  11. สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะติดขัด (Blocked) หรือ สถานะพัก (Suspend) เป็นสถานะที่โปรเซสติดต่อกับอุปกรณ์ หรือคอยเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งให้เกิดขึ้น โปรเซสในสถานะนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ซีพียูและยังไม่พร้อมที่จะครอบครองซีพียู และเมื่อติดต่อกับอุปกรณ์เสร็จแล้ว หรือได้เหตุการณ์ที่คอยแล้วก็จะกลับเข้ามาในสถานะพร้อม เพื่อคอยการเข้าครองซีพียูเพื่อใช้ในการทำงานต่อไป

  12. ภาพแสดงการเปลี่ยนสถานะของโปรเซส ออกจากระบบ เสร็จสิ้น สร้าง รับโปรเซส ขัดจังหวะ ทำงาน พร้อม การเลือกจ่ายงาน ของกำหนดการ ทำงาน I/O เรียบร้อย รอ I/O รอ

  13. สถานะของโปรเซส (Process Status) เมื่อผู้ใช้สั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการจะมีการเตรียมการสร้างโปรเซสให้กับงานใหม่ที่ส่งเข้ามา โดยโปรเซสที่เข้ามาใหม่ จะเริ่มต้นเป็นโปรเซสในสถานะติดขัดก่อน

  14. ส่วนประกอบของโปรเซส

  15. ข้อมูลเพื่อการจัดการโปรเซสข้อมูลเพื่อการจัดการโปรเซส • ค่ารีจีสเตอร์ ทำการเก็บค่าต่าง ๆ ที่ทำงานค้างไว้ในรีจีสเตอร์ ก่อนที่จะปลดปล่อยซีพียู เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทำงานต่อเมื่อได้ครองซีพียูอีกครั้ง • โปรแกรมเคาเตอร์ เพื่อเก็บตำแหน่งปัจจุบันของการทำงานไว้ และใช้ค่านี้ในการทำงานต่อเมื่อได้เข้าครองซีพียูใหม่ • สถานะของโปรเซสที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน • เวลาเริ่มทำงานของโปรเซส • เวลาของซีพียูที่ใช้ไปแล้ว

  16. ข้อมูลเพื่อการจัดการหน่วยความจำข้อมูลเพื่อการจัดการหน่วยความจำ • พอยน์เตอร์ชี้ไปยังตำแหน่งของโปรเซสในหน่วยความจำเพื่อเก็บตำแหน่งของหน่วยความจำที่ ใช้เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมของแต่ละโปรเซส เพื่อให้สามารถอ้างอิง และนำมาใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง • พอยน์เตอร์ชี้ไปยังทรัพยากรต่าง ๆ ที่โปรเซสครอบครอง • หมายเลขประจำตัวของโปรเซส

  17. ข้อมูลเพื่อการจัดการแฟ้มข้อมูลเพื่อการจัดการแฟ้ม • ไดเร็กทอรี่ราก เป็นการเก็บที่อยู่ของโปรแกรมของโปรเซสแต่ละโปรเซส เพื่อการอ้างอิง และการนำมาใช้งาน • ไดเร็กทอรี่ปัจจุบัน • รายละเอียดของแฟ้ม • หมายเลขประจำตัวของโปรเซส

  18. จบบทที่ 3 ค่ะ

More Related