1 / 34

ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สุขภาพนราธิวาส

ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สุขภาพนราธิวาส. รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย. วัตถุประสงค์ นำเสนอภาพรวมของยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์/วัตถุประสงค์ KPI ข้อมูลฐาน ค่าเป้าหมาย SWOT กลยุทธ์ (๔ ปี) แผนงาน/โครงการรายปี ทบทวนวิสัยทัศน์ และ พันธกิจ

Download Presentation

ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สุขภาพนราธิวาส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สุขภาพนราธิวาสยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สุขภาพนราธิวาส รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย

  2. วัตถุประสงค์ • นำเสนอภาพรวมของยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์/วัตถุประสงค์ KPI ข้อมูลฐาน ค่าเป้าหมาย SWOT กลยุทธ์ (๔ ปี) แผนงาน/โครงการรายปี • ทบทวนวิสัยทัศน์ และ พันธกิจ • ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ • แผนที่กลยุทธ์ กำหนด KPI ค่าเป้าหมาย • SWOT : SIPOC: กลยุทธ์/แนวทาง

  3. นิยามศัพท์เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ ของก.พ.ร. Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์

  4. ประเมิน “ตีค่า” ประเมินผล “ตีค่าผลงาน” -วัดได้ -เปรียบเทียบ -ตัดสิน Product Aspiration Market วิสัยทัศน์ของใคร? คปสจ (สสจ รพท คปสอ รพช สสอ สอ) วิสัยทัศน์ของเขต ๘ “ประชาชนมีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่ทำงานอย่างปลอดภัย”

  5. P: บริหาร สุขภาพ A: ปสภ, มีส่วนร่วม,ดี M: เขต ๘? วิสัยทัศน์ คปสจ.นราธิวาส (เดิม) บริหารมีประสิทธิภาพ ทุกภาคีมีส่วนร่วม มุ่งเน้นการมีสุขภาพดีของประชาชน วิสัยทัศน์เขต ๘ “ประชาชนมีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่ทำงานอย่างปลอดภัย” Product: สุขภาพ มีความปลอดภัย Aspiration: ดี ทำงานอย่างปลอดภัย Market: ภาคใต้ ประเทศ นานาชาติ

  6. วิสัยทัศน์พึงเป็นผลที่เกิดขึ้น ควรเลี่ยงการขึ้นต้นด้วยคำที่เป็นกระบวนการ ประสิทธิภาพ -กาแฟร้อน...ถ้วยOutput -ดื่ม...อึกEffect/ Outcome -ตาสว่าง, อร่อย..ระดับImpact /Result ทรัพยากร กาแฟ .... บริหาร กระบวน การชง ... องค์กรสุขภาพ...เลิศ ชั้นนำ แนวหน้า มาตรฐาน ที่มีคุณภาพ “QC,TQC,TQM,MBNQA,TQA,PMQA” คนนราธิวาสมีสุขภาพดีทุกภาคีมีส่วนร่วม

  7. คปสจ. นราธิวาส “เป็นองค์กรสุขภาพมีคุณภาพ (คน/ประชาชน/ชาว)นราธิวาสมีสุขภาพดีทุกภาคีมีส่วนร่วม” (องค์กร ประกอบด้วย คน งาน ทีม เทคโนโลยี) ภารกิจตามกฎหมาย ตามคำสั่ง (วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผน ประสาน กำกับ ประเมินผล นิเทศ จัดให้ประชาชนมีส่วนร่วม) ภารกิจท้าทาย พัฒนาองค์กรให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด PMQA?

  8. วิสัยทัศน์ “องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสมีสุขภาพดีโดยภาคีมีส่วนร่วม” พันธกิจ๑.พัฒนาระบบสุขภาพให้มีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทและวิถีชุมชน ๒.พัฒนาองค์กรให้มีระบบบริหารจัดการที่ดี ๓.พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพบริหาร และบริการองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชน • เป้าประสงค์ • มีระบบการบริหารจัดการที่ดี • ได้รับการรับรองมตฐ.ประกันคุณภาพ • บรรลุเป้าหมายตาม KPI ของกระทรวงฯ • สปสช, เขต และจังหวัด • บุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์ กพ. • ระบบ ICTมีมตฐ.สามารถสนองความ • ต้องการขององค์กร เป้าประสงค์ -มีระบบสุขภาพสอดคล้อง กับบริบทและวิถีชุมชน -ประชาชนมีสุขภาพที่มี คุณภาพตามเกณฑ์ -ประชาชนได้รับการเยียวยา สุขภาพจากเหตุการณ์ไม่สงบ เป้าประสงค์ -ประชาชนและองค์กรชุมชน ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ -มีช่องทางให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมใน การมีส่วนร่วมในการสร้างเสริม สุขภาพ

  9. ตัวอย่าง “สุขภาพ” = กาย จิต ปัญญา และสังคม เป็นเมืองน่าอยู่ เคียงคู่รู้ค่าธรรมชาติ ชาญฉลาดทำกิน อยู่ในดินแดนสันติสุข ประเด็นยุทธศาสตร์ ...ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ...เศรษฐกิจพอเพียง ...สังคมอยู่เย็นเป็นสุข

  10. “เป็นองค์กรสุขภาพมีคุณภาพ(คน/ประชาชน/ชาว)“เป็นองค์กรสุขภาพมีคุณภาพ(คน/ประชาชน/ชาว) คนนราธิวาสมีสุขภาพดี(โดย)ทุกภาคีมีส่วนร่วม” พัฒนาคุณภาพองค์กร(ทั้งบริหารและบริการ:รวม/แยกประเด็น) ส่งเสริม/สร้างเสริมสุขภาพประชาชน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ประสิทธิผล องค์กรได้รับการพัฒนา คุณภาพ ประชาชน หน่วยงาน พึงพอใจในผลงานหรือ มีคุณลักษณะผ่านเกณฑ์ ประสิทธิภาพ ไม่มีขั้นตอนเกินความจำเป็น ประหยัดฯ การพัฒนาองค์กร - คนมีสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐาน - ICT มีมาตรฐานตามเกณฑ์

  11. วิสัยทัศน์ คปสจ.นราธิวาส . “องค์กรมีคุณภาพ คนนราธิวาสมีสุขภาพดีโดยทุกภาคีมีส่วนร่วม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประแด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร พัฒนาคุณภาพการบริการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ประการที่ 1 ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร

  13. ตัวอย่างการให้คำนิยามตามประเด็นยุทธศาสตร์ควรครอบคลุมตัวอย่างการให้คำนิยามตามประเด็นยุทธศาสตร์ควรครอบคลุม ทั้ง ๔ มิติ เช่น องค์กรได้รับการพัฒนา หมายถึง การที่องค์กรบรรลุ ประสิทธิผลการพัฒนาองค์กร และมีคุณภาพจากการพัฒนา องค์กร มีกระบวนการดำเนินงานมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนา สมรรถนะบุคลากร และ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประสิทธิผลการพัฒนาองค์กร หมายถึง.....KPI คือ.... คุณภาพการพัฒนาองค์กร หมายถึง....KPI คือ.... ประสิทธิภาพ หมายถึง....KPI คือ.... การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร หมายถึง....KPI คือ.... ระบบเทคโนยีสารสนเทศ หมายถึง... KPI คือ...

  14. องค์กรมีคุณภาพ คนนราธิวาสมีสุขภาพดีโดยทุกภาคีมีส่วนร่วม (ตัวอย่าง) พัฒนาคุณภาพการบริหารและบริการ ตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จ ของการปรับปรุงOFI จำนวนหน่วยฯที่ได้รับ การรับรอง ร้อยละการบรรลุ เป้าหมายตามKPI ด้านการพัฒนาองค์กร ของกระทรวงฯสปสช เขต และ จว.กำหนด ปสผ ความสำเร็จของการประยุกต์ใช้แนวทางการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้รับการรับรองคุณภาพสถานบริการทุกแห่ง คุณภาพ ประชาชนมีความพึงพอใจในการบริหาร และบริการขององค์กรสุขภาพ ร้อยละความพึงพอใจฯ เพิ่มขึ้น ปสภ ระบบการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการมี ปสภ. ร้อยละความสำเร็จตามแผน(PMQA?) ระบบการพัฒนาคุณภาพการบริการมี ปสภ. ร้อยละความสำเร็จตามแผน(HA,HCA?) การพัฒนาองค์กร บุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านเกณฑ์สมรรถนะของ กพ. ระบบICTเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด การผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ICT ของกระทรวง

  15. การส่งเสริมสุขภาพ • ปสผ. บรรลุความสำเร็จตาม KPI ด้านสุขภาพที่หน่วยเหนือกำหนด • คุณภาพ บรรลุเป้าหมายความพึงพอใจ... อัตราการร้องเรียน... • ปสภ การลดเวลาการให้บริการ... การลดต้นทุนต่อหน่วย... • การพัฒนาองค์กร สมรรถนะบุคลากรเป็นไปตามเกณฑ์...ICT ที่เป็นไปตามเกณฑ์ • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • ปสผ. ทุกภาคีเข้ามามีส่วนร่วม • คุณภาพ ประชาชนพึงพอใจในผลงานของการมีส่วนร่วม หรือ พัฒนาให้มีคุณลักษณะ • เป็นไปตามเกณฑ์อันจะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจ • ปสภ. รวดเร็ว.... ประหยัด... หรือ เน้นที่พัฒนาวิธีการหรือกระบวนงาน • การพัฒนาองค์กร • สมรรถนะของบุคลากร • ICT เป็นไปตามเกณฑ์

  16. วิสัยทัศน์ “องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสสุขภาพดีโดยภาคีมีส่วนร่วม” พันธกิจ๑.พัฒนาระบบสุขภาพให้มีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทและวิถีชุมชน ๒.พัฒนาองค์กรให้มีระบบบริหารจัดการที่ดี ๓.พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพบริหาร และบริการองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชน • เป้าประสงค์ • มีระบบการบริหารจัดการที่ดี • ได้รับการรับรองมตฐ.ประกันคุณภาพ • บรรลุเป้าหมายตาม KPI ของกระทรวงฯ • สปสช, เขต และจังหวัด • บุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์ กพ. • ระบบ ICTมีมตฐ.สามารถสนองความ • ต้องการขององค์กร เป้าประสงค์ -มีระบบสุขภาพสอดคล้อง กับบริบทและวิถีชุมชน -ประชาชนมีสุขภาพที่มี คุณภาพตามเกณฑ์ -ประชาชนได้รับการเยียวยา สุขภาพจากเหตุการณ์ไม่สงบ เป้าประสงค์ -ประชาชนและองค์กรชุมชน ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ -มีช่องทางให้ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมใน การมีส่วนร่วมในการสร้างเสริม สุขภาพ

  17. ปัญหาคือ • อัตราส่วนการตายของมารดาเกิน 36 ต่อแสนการเกิดมีชีพ • วัตถุประสงค์(ปัญหาหาย/ลดลง + สามารถวัดได้) • เพื่อลดอัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน 36 ต่อแสนการเกิด • มีชีพโดย • ๑. ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้างแรงจูงใจแก่กลุ่มเป้าหมาย • กิจกรรม (สาเหตุของปัญหา) • ประชาสัมพันธ์ (ไม่รู้) • กิจกรรมสร้างแรงจูงใจ (ตรงตามความต้องการ) • (วางแผนประเมินผล.................................................................)

  18. ปัญหา อัตราเด็ก ๐-๗๒ เดือนในศูนย์เด็กเล็กมีภาวะโภชนาการ ตามเกณฑ์น้อยกว่า ๙๓% (๖๙.๓) • วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาให้เด็ก ๐-๗๒ เดือนในศูนย์เด็กเล็กมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มากกว่า ๙๓% • กิจกรรม • กิจกรรมให้ความรู้แก่มารดาหรือผู้ดูแลเด็ก... • กิจกรรมรณรงค์การงดเว้นบริโภคอาหารไม่มีประโยชน์

  19. วิสัยทัศน์ “องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสมีสุขภาพดีโดยภาคีมีส่วนร่วม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพบริหาร และบริการองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน • เป้าประสงค์ KPI BL เป้าหมาย • มีระบบการบริหารจัดการที่ดี ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาโดยใช้PMQA • ได้รับการรับรองมตฐ.ประกันคุณภาพ จำนวนสถานบริการที่ได้รับการรับรอง มตฐ. • บรรลุเป้าหมายตาม KPI ของกระทรวงฯ ร้อยละความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายตาม • สปสช, เขต และจังหวัด ที่กำหนด • บุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์ กพ. ร้อยละของบุคลากรที่มีสมรรถนะตามเกณฑ์ • ระบบ ICTมีมตฐ.สามารถสนองความ ระบบ ICT เป็นไปตาม มตฐ.ที่กำหนด • ต้องการขององค์กร ร้อยละของหน่วยงานในการใช้ ICT เพื่อพัฒนางาน จุดแข็งที่ทำให้บรรลุเป้าหมายคือ....... จุดอ่อนที่ทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายคือ..... กลยุทธ์รักษาหรือใช้ประโยชน์จุดแข็งคือ... กลยุทธ์พัฒนาจุดอ่อนคือ.....

  20. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ • กลยุทธ์พัฒนาบุคลากร (แนวทาง....จุดอ่อน/จุดแข็ง จัดทำ Individual Scorecard, HR Scorecard) • กลยุทธ์พัฒนาระบบริหารจัดการที่ดี (แนวทาง...PMQA) • กลยุทธ์สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบริการ (แนวทาง...) • กลยุทธ์พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (แนวทาง....) • กลยุทธ์พัฒนาประสิทธิภาพเพื่อสนองนโยบาย (แนวทาง การถ่ายทอดค่าเป้าหมายสู่ตัวบุคคล.......)

  21. วิสัยทัศน์ “องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสมีสุขภาพดีโดยภาคีมีส่วนร่วม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพบริหาร และบริการองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน

  22. วิสัยทัศน์ “องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสมีสุขภาพดีโดยภาคีมีส่วนร่วม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพบริหาร และบริการองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมสุขภาพของ ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน

  23. ปัจจัยหลักในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าประสงค์ปัจจัยหลักในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าประสงค์ จุดแข็ง จุดอ่อน ตัวอย่างการวิเคราะห์ SRRT สอบสวนโรคตามนโยบายและปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขต่ำ กว่าเป้าหมายอยู่ ๓๒ %(เป้าหมาย ๗๐%) สาเหตุเพราะ โครงสร้างการมอบหมายภาระงาน ไม่ชัดเจน ดังนั้นจุดอ่อนที่ทำให้ตัวชี้วัดนี้ไม่บรรลุผลคือความไม่ชัดเจนของโครงสร้างการ มอบหมายภาระงาน(ต้องมีหลักฐานหรือประจักษ์พยานยืนยัน ไม่ใช่รู้สึก/คิดเอาเอง)

  24. เป้าหมายที่ผ่าน เนื่องจากปัจจัย ....... ปัจจัยหลักในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าประสงค์ จุดแข็ง จุดอ่อน เป้าหมายที่ไม่ผ่าน เนื่องจากปัจจัย..... ทั้ง ๕ ปัจจัยหลักนี้อาจมีทั้งส่วนที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนในแต่ละปัจจัย กลยุทธ์จึงมีสองลักษณะสำคัญคือ รักษาจุดแข็งไว้ และ พัฒนาจุดอ่อน

  25. Supplier ให้งบประมาณหรือนโยบาย Customer ผู้ใช้ผลผลิตและสถานการณ์โรคในพื้นที่ • กระทรวง KPI ….. เป้าหมาย • สปสช KPI ….เป้าหมาย • เขต KPI .... เป้าหมาย • จังหวัด KPI …. เป้าหมาย • สสจ. KPI…. เป้าหมาย • ปสผ คุณภาพ ปสภ การพัฒนาองค์กร • Agenda, Function, Area Customer ประชาชน หน่วยงานลูกค้า อปท. ปัญหาโรคประจำถิ่น แนวโน้มของโรค พฤติกรรมสุขภาพ

  26. ปัจจัยภายนอกระดับนโยบายปัจจัยภายนอกระดับนโยบาย (ผลต่อการสนับสนุนงบประมาณ/นโยบาย) -กระทรวง ? -สปสช มีตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นทำให้เพิ่มภาระมากขึ้น -เขต มีตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นทำให้เพิ่มภาระมากขึ้น -จังหวัด ? OT ปัจจัยภายนอกในพื้นที่ที่สำคัญ สถานการณ์ความไม่สงบมีลักษณะ.ปฏิบัติงานด้วยความเสี่ยงฯ พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนมีลักษณะ.ก่อให้เกิดโรคเรื้อรังฯ สถานการณ์โรคในพื้นที่มีลักษณะ.ไข้เลือดออก,เท้าช้าง,เรื้อน,มาลาเรีย ปัญหาสุขภาพจากเหตุการณ์ไม่สงบมีลักษณะ.ก่อให้เกิดภาวะความเครียดเพิ่มขึ้น แนวโน้มของโรคที่ต้องเผชิญในอนาคตมีลักษณะ.โรคติดต่อชายแดนเพิ่มขึ้น สัมพันธภาพกับ อปท.ยังไม่เอื้อประโยชน์/มีส่วนร่วมน้อย ผู้นำในท้องถิ่นมีลักษณะ.ความร่วมมือดีขึ้น

  27. O S1 S2 S3 S4 T WO:? SO: Star S W S T S2 E ST: Cash Cow WT: Dogs T สมรรถนะ ก ข ค ง พัฒนาสมรรถนะ แนวทาง พัฒนา ก. พัฒนา ข พัฒนา ค พัฒนา ง SO ST WO WT S C E O T S

  28. มาตรการ/แนวทาง -ใช้จุดแข็งไปแก้ไข หรือพัฒนาจุดอ่อน โดยใช้โอกาสเป็นตัว สนับสนุน -แก้ไขจุดอ่อนให้เป็น จุดแข็งเพื่อใช้ไปแสวง หาโอกาส -หลีกเลี่ยง/เปลี่ยน ตำแหน่ง WT ไป เป็น ST

  29. S1: Structure SS1-1 SS1-2 SS1-3 SW1-4 SW1-5 SW1-6 } รักษาไว้ } พัฒนา, ส่งเสริม, สนับสนุน

More Related