1 / 14

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I. LAB # 1 HARDNESS . Section 6. Third Year, Semester 1, year 2009, ME Chula. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I. INTRODUCTION.

azia
Download Presentation

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI LAB # 1 HARDNESS Section 6 Third Year, Semester 1, year 2009, ME Chula

  2. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI INTRODUCTION ก่อนที่จะเลือกวัสดุชนิดหนึ่งมาใช้ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตควรรู้คุณสมบัติของวัสดุนั้นอย่างละเอียด ซึ่งหนึ่งในคุณสมบัติที่สำคัญก็คือ ค่าความแข็ง (Hardness) : ความต้านทานต่อการกดเจาะ หรือความทนทานต่อการขูดขีด โดยวิธีวัดความแข็งสามารถทำได้หลายวิธี แต่ที่เป็นที่นิยม คือ Rockwell Hardness Test นอกจากนี้ เราสามารถเพิ่มค่าความแข็งให้กับโลหะหลายชนิดด้วยกระบวนการทางความร้อน LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  3. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI OBJECTIVES 1. เพื่อศึกษา ทำการวัดและเปรียบเทียบค่าความแข็งของวัสดุทดสอบ 3 ชนิด โดยการทดสอบค่าความแข็งมาตรฐานแบบ Rockwell 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงค่าความแข็งของวัสดุทดสอบ 3 ชนิด หลังจากผ่านการอบ และชุบแข็ง LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  4. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI PRINCIPLE of HARDNESS TEST Definition of Hardness Test เป็นการวัดความต้านทานของวัสดุต่อการกดให้เป็นรอยบุ๋ม (indentation) โดยการนำเอาวัสดุชนิดหนึ่งมากดลงบนผิวของวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งถ้าสามารถกดให้เป็นรอยบุ๋มได้ลึก แสดงว่าวัสดุนั้นมีความแข็งต่ำ LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  5. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI PRINCIPLE of HARDNESS TEST ROCKWELL HARDNESS TEST เป็นการวัดค่าความลึกจากรอยกดที่ผิวชิ้นงาน ค่าที่อ่านได้จากสเกล คือ ความลึกของรอยกด โดย 1 สเกล มีค่าเท่ากับ 0.02 ไมครอนมีการกดสองขั้น ขั้นแรกกดด้วย minor load = 10 kg ขั้นที่สองคือ major load ซึ่งขึ้นกับสเกลที่เลือกใช้ ♠ Rockwell Scale B ใช้ทดสอบโลหะอ่อนเหนียวปานกลาง หัวเจาะรูปบอล 1.6 mm ภาระ 100 กิโลกรัม ค่าที่ยอมรับได้อยู่ในช่วง 35-100 HRB ♠ Rockwell Scale C ใช้ทดสอบโลหะแข็ง หัวเจาะเพชรรูปกรวย ภาระ 150 กิโลกรัม ค่าที่ยอมรับได้อยู่ในช่วง 20-80 HRC LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  6. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI ROCKWELL HARDNESS TESTER • MODEL : AVERY type 6402 • Hardness Tester Rockwell Standard • Scale B,C available LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  7. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI DIAGRAM of EXPERIMENT SETUP • หาความหนาแน่นของวัสดุทั้ง 3 ชนิด เพื่อนำมาวิเคราะห์ว่าเป็นวัสดุชนิดใด • จัดเตรียมวัสดุเพื่อทดสอบความแข็ง โดยการขัดผิวทดสอบให้เรียบเป็นมันเงาด้วย hand grinding • ทำการกำหนดตำแหน่งที่จะใช้ทดสอบบนผิว โดยควรมีระยะห่างระหว่างรอยกดและจากขอบชิ้นงานอย่างน้อย 3 mm • ทำการ calibration เครื่องทดสอบความแข็ง • วัดค่าความแข็งของชิ้นทดสอบทั้ง 3 ชนิดด้วยมาตรฐาน Rockwell จำนวน 5 ครั้ง แล้วบันทึกค่าที่ได้ • นำชิ้นทดสอบทั้ง 3 ชิ้นไปชุบแข็ง แล้วนำไปทดสอบความแข็งตามข้อ 4-5 อีกครั้ง • หาค่า uncertainty ของข้อมูล • เปรียบเทียบค่าความแข็งของวัสดุแต่ละชนิด ก่อนและหลังการอบชุบด้วยความร้อน ** หากข้อมูลวัดจากสเกลที่ต่างกัน ต้องมีการแปลงให้อยู่ในสเกลเดียวกัน เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบค่า (ตารางแปลงสเกลอยู่ในภาคผนวก) LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  8. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI MATERIAL ANALYSIS via density เปรียบเทียบค่าความหนาแน่นที่ได้กับคุณสมบัติของโลหะจากอินเตอร์เน็ต ทำให้เราสามารถตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับชนิดของเหล็กได้ดังตาราง สำหรับเหล็ก อาจารย์ชินเทพได้แนะนำให้ใช้อุณหภูมิอบที่ 800OC ซึ่งจากตารางเหล็กของผู้ผลิต บริษัท กรุงเทพเหล็กกล้า จำกัด เราสมมติให้เป็นเหล็กแบบ AISI C1049 LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  9. EXPERIMENT RESULT 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI NOTE 1.Hardness values are interpreted @ 95% confidence 2.All units are Rockwell Scale B (HRB) 3. After hardening, from graph we got Hardness of Al decrease 56.7% Hardness of Brass increase 1.4% Hardness of Steel increase 16.6% LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  10. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI DISCUSSION ในกรณีของเหล็ก เมื่อให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส จากนั้นลดอุณหภูมิลงอย่างรวดเร็ว เหล็กจะมีโครงสร้างแบบ Pearliteซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีขนาดของเนื้อเกรนเล็กและหนาแน่นมาก เนื่องจากขอบเกรนมีความแข็งแรงมากกว่าเนื้อเกรน ดังนั้น เราจึงสรุปได้ว่า เหล็กที่ผ่านกระบวนการนี้มีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการทดลองที่ได้ค่าความแข็งมากขึ้น 16.6% LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  11. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI DISCUSSION ในกรณีของทองเหลืองการใช้งานทั่วไปจะมี Zn<30% จาก phase diagram ในช่วงอุณหภูมิ 200 - 1000 oC เป็น phase เดียวกัน จากการที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระดับจุลภาค ทำให้ค่าความแข็งไม่เปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย สอดคล้องกับผลการทดลองที่ได้ คือค่าความแข็งเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียง 1.4% LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  12. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI DISCUSSION ในกรณีของอลูมิเนียมหลังทำการชุบแข็ง พบว่าค่าความแข็งของอลูมิเนียมลดลงถึง 56.65 % ซึ่งสาเหตุนั้นเป็นไปได้ 2 กรณี คือ 1.ตามหลักการชุบแข็งอลูมิเนียมผสมนั้นต้องทำเป็นสองขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกอบอลูมิเนียมผสมให้ได้โครงสร้างสภาพเดียว (Phase สภาพเดียว) แล้วชุบให้ คงสภาพเดียวนั้นไว้ ขั้นที่สองต้องนำอลูมิเนียมที่ชุบแล้วมาอบให้ร้อนอีกครั้งหนึ่ง ให้ร้อนเหนืออุณหภูมิห้องจึงจะทำให้อลูมิเนียมแข็งขึ้น แต่เราทำการชุบแข็งอลูมิเนียมเพียงขั้นตอนเดียว จึงสามารถสรุปได้ว่าการทดลองครั้งนี้ ไม่ถูกต้องตามหลักการชุบแข็งของอลูมิเนียม 2.อลูมิเนียมที่ใช้ในการทดลองอาจเป็นประเภทที่ไม่สามารถชุบแข็งได้ ค่าความแข็งจากการทดลองนี้ จึงไม่เพิ่มขึ้น LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  13. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI CONCLUSION LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

  14. 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and LaboratoryI Q&A LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

More Related