1 / 35

โดย...

โดย. ศูนย์ปฏิบัติการเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (ศปศ.). เปรียบเทียบเทคนิคการพยากรณ์ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ( MPI ) (อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม). ประเด็นการนำเสนอ. วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา เทคนิควิธีการพยากรณ์ ผลการศึกษา

ayala
Download Presentation

โดย...

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดย... ศูนย์ปฏิบัติการเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (ศปศ.) เปรียบเทียบเทคนิคการพยากรณ์ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) (อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม)

  2. ประเด็นการนำเสนอ • วัตถุประสงค์ • ขอบเขตการศึกษา • เทคนิควิธีการพยากรณ์ • ผลการศึกษา • การนำผลการพยากรณ์มาวิเคราะห์ ทิศทางอุตสาหกรรม ปี 2550

  3. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อเปรียบเทียบแบบจำลองจากการวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time Series Analysis) ที่เหมาะสมในการพยากรณ์ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) 2. เพื่อคาดการณ์ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)

  4. ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้จะใช้การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time Series Analysis) เพื่อพยากรณ์ MPI ดังนี้ 1) ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) 2) การผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ (ISIC 1511) 3) การแปรรูปและการถนอมสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1512) 4) การแปรรูปผลไม้และผัก (ISIC 1513) 5) การจัดเตรียมและการปั่นเส้นใยสิ่งทอรวมถึงการทอสิ่งทอ (ISIC 1711) 6) การผลิตเครื่องแต่งกาย ยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ทำจากขนสัตว์ (ISIC 1810)

  5. เทคนิควิธีการในการพยากรณ์ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม • วิธีค่าเฉลี่ย (Average Methods) • วิธีการปรับเรียบ (Exponential Smoothing) • การวิเคราะห์สมการถดถอย (RegressionsAnalysis) • วิธี Box-Jenkins ด้วยแบบจำลอง ARIMA

  6. Average Methods No T,S T การเฉลี่ยแบบเคลื่อนที่คู่ (Double Moving Average) ค่าเฉลี่ยอย่างง่าย (Simple Average) การเฉลี่ยแบบเคลื่อนที่ (Moving Average)

  7. Exponential Smoothing ให้ความสำคัญกับข้อมูลปัจจุบัน T T,S Holt’s Method Winter’s Model

  8. RegressionsAnalysis การประมาณค่าสัมประสิทธิ์ของสมการใช้วิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Square: OLS) เพื่อให้ผลบวกของค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองมีค่าน้อยที่สุด

  9. Box-Jenkins AR(p) MA(q) ARMA(p,q) ARIMA(p,d,q)

  10. เกณฑ์การพิจารณาค่าพยากรณ์ที่เหมาะสมเกณฑ์การพิจารณาค่าพยากรณ์ที่เหมาะสม - Mean Absolute Deviation: MAD - Root Mean Square Error: RMSE - Mean Absolute Percentage Error (MAPE)

  11. ผลการศึกษา

  12. การวิเคราะห์สมการถดถอย (Regression Analysis) ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)

  13. การวิเคราะห์สมการถดถอย (Regression Analysis) การผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ (ISIC 1511)

  14. การวิเคราะห์สมการถดถอย (Regression Analysis) การแปรรูปและถนอมสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1512)

  15. การวิเคราะห์สมการถดถอย (Regression Analysis) การแปรรูปผลไม้และผัก (ISIC 1513)

  16. การวิเคราะห์สมการถดถอย (Regression Analysis) การจัดเตรียมและการปั่นเส้นใยสิ่งทอรวมถึงการทอสิ่งทอ (ISIC 1711)

  17. การวิเคราะห์สมการถดถอย (Regression Analysis) การผลิตเครื่องแต่งกาย ยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ทำจากขนสัตว์ (ISIC 1810)

  18. วิธี Box-Jenkins ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ARIMA (2,2,1) การผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ (ISIC 1511) ARIMA (2,1,1)

  19. วิธี Box-Jenkins การแปรรูปและถนอมสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1512) ARIMA (3,0,0) การแปรรูปผลไม้และผัก (ISIC 1513) ARIMA (1,0,0)

  20. วิธี Box-Jenkins การจัดเตรียมและการปั่นเส้นใยสิ่งทอรวมถึงการทอสิ่งทอ (ISIC 1711) ARIMA (1,1,1) การผลิตเครื่องแต่งกาย ยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ทำจากขนสัตว์ (ISIC 1810) ARIMA (2,0,0)

  21. เปรียบเทียบค่าสถิติทดสอบเปรียบเทียบค่าสถิติทดสอบ

  22. ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)

  23. การผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1511)

  24. การแปรรูปและการถนอมสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1512)

  25. การแปรรูปผลไม้และผัก (ISIC 1513)

  26. การจัดเตรียมและการปั่นเส้นใยสิ่งทอรวมถึงการทอสิ่งทอ (ISIC 1711)

  27. การผลิตเครื่องแต่งกาย ยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ทำจากขนสัตว์ (ISIC 1810)

  28. การนำผลการพยากรณ์มาวิเคราะห์ทิศทางอุตสาหกรรม ปี 2550

  29. ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) 2550 = 5.74 2549 = 6.58 • การส่งออกที่คาดว่าจะชะลอตัวลง ปี 2550 โดยตั้งเป้าไว้ที่ 12.5% ขณะที่ปี 2549 มูลค่าการส่งออกขยายตัว 16.94% • การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ที่คาดว่าจะขยายตัว 4.9% ในปี 2550 ชะลอตัวลงจาก 5.1% ในปี 2549

  30. การผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1511) 2550 = 3.23 2549 = 5.72 • มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตไก่เป็นการเลี้ยงระบบฟาร์มปิด ทำให้การส่งออกยังคงขยายตัวอยู่ • อย่างไรก็ตามการที่ภาครัฐควบคุมอย่างต่อเนื่อง ก็สร้างความเชื่อมั่นกับผู้บริโภคภายในประเทศให้ดีขึ้น

  31. การแปรรูปและการถนอมสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำ (ISIC 1512) 2550 = -0.32 2549 = 3.22 • ปัญหาการขาดแคนแรงงาน • อย่างไรก็ตามการที่ไทยถูกเรียกเก็บอัตราภาษี AD จากสหรัฐในสินค้ากุ้งในอัตราที่ต่ำกว่าประเทศคู่ก็ยังทำการส่งออกกุ้งของไทยยังขยายตัวได้ดีอยู่

  32. การแปรรูปผลไม้และผัก (ISIC 1513) 2550 = 1.58 2549 = 9.39 • ราคาสับปะรดที่ตกต่ำในช่วงปีที่ผ่านมา ก็อาจจะส่งผลให้มีการลดพื้นที่การเพาะปลูกในปี 2550 • อย่างไรก็ตามการเปิดเสรีการค้าในกลุ่มผักและผลไม้กับจีนและออสเตรเลียก็ช่วยให้การส่งออกดีขึ้น

  33. การจัดเตรียมและการปั่นเส้นใยสิ่งทอรวมถึงการทอสิ่งทอ (ISIC 1711) 2550 = -0.98 2549 = -5.89 • ราคาน้ำมันดิบคาดว่าจะมีเสถียรภาพมากขึ้นและมีแนวโน้มลดลงในปี 2550 • อัตราดอกเบี้ยมีทิศทางที่ลดลง

  34. การผลิตเครื่องแต่งกาย ยกเว้นเครื่องแต่งกายที่ทำจากขนสัตว์ (ISIC 1810) 2550 = 4.21 2549 = 1.04 • คุณภาพสินค้าของไทยเป็นที่ยอมรับในตลาดโลก • อย่างไรก็ตามในปี 2550 ก็ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นจากจีน เวียดนาม และอินเดีย ซึ่งจะมีความได้เปรียบที่ต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าของไทย

  35. The End...

More Related