1 / 17

ธรรม มาภิ บาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร

ธรรม มาภิ บาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร. ศ.เชิดชัย รัตนเศรษฐา กุล. ธรรม มาภิ บาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร. คนไทยที่ไม่ปรารถนา นิสัย ค่านิยม และความประพฤติที่ก่อให้เกิดปัญหา ดังนี้ ไม่ชอบปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท ( Rule )

avye-burt
Download Presentation

ธรรม มาภิ บาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ธรรมมาภิบาล คุณธรรมและจริยธรรมในการบริหาร ศ.เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล

  2. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร คนไทยที่ไม่ปรารถนา นิสัย ค่านิยม และความประพฤติที่ก่อให้เกิดปัญหา ดังนี้ • ไม่ชอบปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท (Rule) • ไม่เคารพสิทธิของผู้อื่น และไม่รักษาสิทธิของตนเอง(Rights) • ขาดความรับผิดชอบ(Responsibility) • บกพร่องในเรื่องคุณธรรม(Moral) • บกพร่องในเรื่องจริยธรรม(Ethics) • ปัญหาอื่นๆ ทำให้เอกลักษณ์อันดีงามของไทยเสื่อมทราม ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 2

  3. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร คนไทยที่ปรารถนา คือคนไทยที่มีค่านิยม และความประพฤติ ดังนี้ • ปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท • เคารพสิทธิของผู้อื่น และรักษาสิทธิของตนเอง • มีความรับผิดชอบ • มีคุณธรรม7 ประการ ในเงื่อนไขคุณธรรมในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • - การตระหนักในคุณธรรม • - มีความซื่อสัตย์สุจริต • - มีความอดทน • - มีความเพียร • - มีการใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต • - ความไม่โลภ • - ความไม่ตระหนี่ • มีจริยธรรม • ดำรงเอกลักษณ์ความเป็นไทย • ที่มา: ผลการศึกษาเรื่อง “คนไทยที่ปรารถนา” จากคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม กลุ่มสังคมจิตวิทยา ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 3

  4. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • หลักทศพิธราชธรรม 10 ประการ • การให้ • การรักษาวาจาใจให้สะอาดปราศจากโทษ • การบริจาค • ความซื่อตรง • ความอ่อนน้อม • การกำจัดความเกียจคร้านและความชั่ว • การไม่โกรธ • การไม่เบียดเบียนผู้อื่น • ความอดทนต่อสิ่งที่ควรอดทน • การปฏิบัติไม่ผิดจากสิ่งที่ถูกต้อง ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 4

  5. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • คติธรรม 7 ประการสำหรับเด็กดี • ของชาวอังกฤษ ก่อให้เกิด Integrity คือ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม • สัจจะพูดความจริง(Truth) • ความซื่อสัตย์สุจริต(Honesty) • ความระลึกในหน้าที่(Sense of Duty) • ความอดกลั้น(Patience) • ความเป็นธรรม(Fair Play) • ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา(Consideration for Others) • เมตตาธรรม(Kindness) ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 5

  6. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • เด็กไทยควรเพิ่มคติธรรมอีก 5 ประการ คือ • ความกตัญญูกตเวที(Gratitude) • ความสุภาพนุ่มนวล(Politeness) • ความคารวะต่อผู้มีอาวุโส(Respect for Elders) • รักษาคำพูด(Promise) • จิตสำนึกสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม • (Public Conscience) ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 6

  7. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • ความหมายของคำว่า คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ คุณธรรม“สภาพคุณงามความดี” จริยธรรม “ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ” (พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542) จรรยาบรรณ“ความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพต่างๆ กำหนดขึ้นเพื่อรักษาชื่อเสียง แลเกียรติคุณของผู้ประกอบอาชีพนั้นๆ เช่น จรรยาบรรณแพทย์ หมายถึง ความประพฤติที่แพทย์ยึดถือปฏิบัติ เป็นต้น” (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530) ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 7

  8. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร จรรยาบรรณมาจากภาษาอังกฤษว่า Ethics และมีรากศัพท์มาจาก Ethics ซึ่งอาจหมายถึง วิชาจริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ ที่เป็นแขนงหนังของปรัชญาทางศีลธรรม (Moral Philosophy) หรือ ศีลธรรมและวิชาชีพ ก็ได้ แต่ไม่ไปเกี่ยวข้องกับมาตรฐานความประพฤติ (Morality) ทั้งนี้เพราะว่าศีลธรรมเป็นมาตรฐานความประพฤติทางวิชาชีพ (Professional Ethic) (ตินปรัชญพฤทธิ์, ข้อมูลเกี่ยวกับพันธะทางสังคม ความรับผิดชอบทางสังคม วิชาชีพนิยม และจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน 2542) ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 8

  9. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “.....การงานทุกอย่าง ทุกอาชีพ ย่อมมีจรรยาบรรณของตนเอง จรรยาบรรณนั้นจะบัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร หรือไม่ก็ตาม แต่เป็นสิ่งยึดติดกันว่า เป็นความดีความงามที่คนในอาชีพนั้น พึงประพฤติปฏิบัติ หากผู้ใดล่วงละเมิดก็อาจก่อให้เกิดความเสียหายทั้งแก่บุคคล หมู่คณะ และส่วนรวมได้” (พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2540) ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 9

  10. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • ข้อ 4 การกระทำผิดจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาและพนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ดังต่อไปนี้อย่างน้อยให้ถือว่าเป็นการกระทำผิดจรรยาบรรณอย่างร้ายแรง • การนำผลการทางวิชาการของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนโดยมิชอบ • การล่วงละเมิดทางเพศหรือมีความสัมพันธ์ทางเพศกับนักศึกษาที่ไม่ใช่คู่สมรสของตน • การเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากนักศึกษาหรือผู้เข้ารับบริการ เพื่อกระทำหรือไม่กระทำการใด • การเปิดเผยความลับของนักศึกษาที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่หรือความไว้วางใจ ทั้งนี้ โดยมิชอบ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นักศึกษาหรือผู้รับบริการ • การสอน หรืออบรมนักศึกษาเพื่อให้กระทำการที่รู้อยู่ว่าผิดกฎหมายหรือฝ่าฝืนศีลธรรมอันดีของประชาชนอย่างร้ายแรง • การกระทำผิดอื่นตามที่สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนดตามสภาพและความร้ายแรงของการกระทำ ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 10

  11. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • ข้อ 6 การกระทำผิดจรรยาบรรณที่เป็นความผิดวินัยหรือผิดวินัยอย่างร้ายแรงให้ดำเนินการทางวินัยตามกฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ถ้าไม่เป็นความผิดวินัยให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการ ดังนี้ • ตักเตือน หรือ • สั่งให้ดำเนินการให้ถูกต้องภายในเวลาที่กำหนด หรือ • ทำทัณฑ์บน • เมื่อได้ดำเนินการตามวรรคหนึ่งแล้วให้บันทึกไว้ในทะเบียนประวัติของบุคคลด้วย ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 11

  12. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ • Good Governance • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 2542 ระเบียบสำนักนายกฯ การสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 2545 พรบ. ระเบียบบริหารข้าราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 2546 พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักและวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 2552 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 12

  13. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือธรรมมาภิบาล • (Good Governance) • ประสิทธิผล (Effectiveness) • ประสิทธิภาพ (Effiency) • การตอบสนอง (Responsiveness) • ภาวะรับผิดชอบ (Accountability) • ความโปร่งใส(Transparency) • การมีส่วนร่วม (Participation) • การกระจายอำนาจ (Decentralization) • นิติธรรม (Rule of Law) • ความเสมอภาค (Equity) • การมุ่งเน้นฉันทามิติ (Consensus Oriented) ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 13

  14. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • ลักษณะของผู้บริหาร จักษุมา หมายถึง มีปัญญามองการณ์ไกล ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Conceptual skill คือ มีความชำนาญในการใช้ความคิด วิธูโร นิสัยสัมปันโน หมายถึง มีความเชียวชาญ แม่นยำในงานที่ทำ ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Technical skill คือ มีความชำนาญด้านเทคนิค หมายถึง มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Human Relation skill คือ มีความชำนาญด้านมนุษย์สัมพันธ์ ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 14

  15. ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร • ขงจื้อเตือนว่า... “...อย่าห่วงว่าใครไม่รู้ว่าท่านเก่ง หรือ มีความสามารถ จงห่วงแต่ว่า สักวันหนึ่งเมื่อคนเขายกย่องหรือเลื่อนตำแหน่งท่าน ท่านมีความเก่งและความสามารถเหมาะสมกับที่เขายกย่อง หรือเลื่อนตำแหน่งหรือเปล่า” ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 15

  16. สังคหพละ ปัญญาพละ อนวัชพละ วินัยพละ กำลังความรู้ความฉลาด กำลังแห่งความเพียร กำลังการงานที่ไม่มีโทษ หรือความสุจริต • กำลังการสงเคราะห์ • หรือมนุษย์สัมพันธ์ ธรรมมาภิบาล คุณธรรม และจริยธรรมในการบริหาร คุณธรรมสำหรับผู้บริหาร • ปัญญาพละ • วินัยพละ • อนวัชพละ • สังคหะพละ ศ. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล 16

  17. จบการนำเสนอ

More Related