1 / 9

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy. ข้อโต้แย้งทฤษฎีการเงินของเคนส์ การปฏิวัติกลับ. ผู้โต้แย้ง. เอ.ซี.พิกู ( A.C. Pigou ) ดอน พาทินกิน ( Don Patinkin ) จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) และ เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) มิลตัน ฟรีดแมน ( Milton Friedman ).

avent
Download Presentation

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีและนโยบายการเงินMonetary Theory and Policy ข้อโต้แย้งทฤษฎีการเงินของเคนส์ การปฏิวัติกลับ

  2. ผู้โต้แย้ง • เอ.ซี.พิกู ( A.C. Pigou ) • ดอน พาทินกิน ( Don Patinkin ) • จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley ) และ เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) • มิลตัน ฟรีดแมน ( Milton Friedman )

  3. A.C.Pigou • ในระบบเศรษฐกิจที่ค่าแรงและค่าแรงที่เคลื่อนไหวโดยเสรีนั้น ดุลยภาพโดยมีการว่างงานอยู่ตามข้อสรุปของเคนส์จะเป็นไปไม่ได้ • จุดเน้นอยู่ที่ ผลของการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นในมูลค่าที่แท้จริงของเงิน ( real Value of Money ) ที่มีต่อการจ้างงาน • แม้ว่าอัตราดอกเบี้ยจะไม่ลดลงก็ตาม ผลของทรัพย์สิน ( Wealth Effect = ผลของพิกู Pigou Effect ) ก็จะมีส่วนทำให้ระบบเศรษฐกิจบรรลุระดับการจ้างงานเต็มที่ได้

  4. Patinkin • สนับสนุนความเป็นกลางของเงิน • ทฤษฎีมูลค่าและทฤษฎีปริมาณเงินของสำนักคลาสสิกมีความขัดแย้งกันเอง ( Why? Or Why not? ) • แนวทางแก้ไขปัญหา • การแบ่งแยกทฤษฎีทั้งสองออกจากกัน • ความเป็นกลางของเงิน

  5. วิเคราะห์ฟังก์ชันอุปสงค์ส่วนเกินของสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของแต่ละบุคคลในระบบเศรษฐกิจที่มีการใช้เงินวิเคราะห์ฟังก์ชันอุปสงค์ส่วนเกินของสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของแต่ละบุคคลในระบบเศรษฐกิจที่มีการใช้เงิน • รายได้ที่แท้จริง ( Real Income ) และยอดคงเหลือที่แท้จริง ( Real Balance ) • ฟังก์ชันอุปสงค์ ขึ้นกับ • ราคาเปรียบเทียบของสินค้า • รายได้ที่แท้จริง • ยอดคงเหลือที่แท้จริง • อิทธิพลของยอดคงเหลือที่มีต่ออุปสงค์ของสินค้า แต่ละบุคคลจะพิจารณาจากยอดที่แท้จริง มิใช่จากมูลค่าที่เป็นตัวเงิน

  6. การเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินในมือที่มีต่ออุปสงค์ของสินค้า – ผลของยอดคงเหลือที่แท้จริง ( Real – Balance Effect ) • ถ้าราคาของสินค้าทุกชนิดเพิ่มขึ้นโดยได้สัดส่วนกัน ราคาเปรียบเทียบของสินค้าเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง จะไม่เกิดผลทางการทดแทน แต่เกิดผลทางทรัพย์สิน ( Wealth Effect ) • ถ้าราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงโดยที่ชนิดอื่นคงที่ จะเกิดผลของการใช้แทน และผลทางทรัพย์สิน ซึ่งประกอบด้วย ( ผลทางทรัพย์สินที่มิใช่ทางการเงิน – Nonmonetary Wealth Effect และผลของยอดคงเหลือที่แท้จริง )

  7. อุปสงค์ส่วนเกินต่อสินค้า และอุปสงค์ส่วนเกินต่อเงิน ( Individual’s Excess – Demand Function for Money ) • อาจพิจารณาอุปสงค์ส่วนเกินโดยการพิจารณาอุปสงค์ของเงินได้ สรุป • การนำยอดคงเหลือที่แท้จริงเข้ามาเป็นตัวกำหนดอุปสงค์ต่อสินค้าด้วย จึงเป็นเครื่องประกันการมีเสถียรภาพของราคา • เงินมีความเป็นกลาง

  8. จอห์น จี เกอร์ลี ( John G. Gurley )เอ็ดเวิร์ด เอส ชอว์ ( Edward S. Shaw ) • การวิเคราะห์ของพาทินกินขึ้นกับการตั้งข้อสมมติฐานบางประการเกี่ยวกับองค์ประกอบของปริมาณเงิน ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับสภาพที่แท้จริง • การสร้างแบบจำลองที่มีตลาดการเงิน และสถาบันการเงินที่ไม่ซับซ้อน • เงินภายใน ( Inside Money) เงินภายนอก ( Outside Money ) • ระบบธุรกิจประกอบด้วยสามภาค คือ ผู้บริโภค ธุรกิจ และรัฐบาล • Direct Finance and Indirect Finance

  9. เงินในระบบเศรษฐกิจถือเป็นหนี้สินของรัฐบาลเงินในระบบเศรษฐกิจถือเป็นหนี้สินของรัฐบาล • ในระบบเศรษฐกิจที่มีแต่เงินภายนอกเท่านั้น มูลค่าที่แท้จริงของเงินจะผันแปรไปในทิศทางตรงกันข้ามกับระดับราคา • กรณีที่ระบบเศรษฐกิจมีแต่เงินภายในเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงระดับราคาไม่มีผลประโยชน์หรือเสียผลประโยชน์เมื่อคิดในมูลค่าที่แท้จริง • ในระบบเศรษฐกิจซึ่งประกอบด้วยเงินภายนอกและเงินภายใน นโยบายการเงินจะมีความไม่เป็นกลาง

More Related