1 / 32

ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ฐานข้อมูลศูนย์ประสานงานวิชาการ และให้ความช่วยเหลือผู้สูญเสียที่ได้รับผลกระทบ จากเหตุความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2549. ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

Download Presentation

ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฐานข้อมูลศูนย์ประสานงานวิชาการ และให้ความช่วยเหลือผู้สูญเสียที่ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สนับสนุนโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.)

  2. ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือ และเยียวยา สถานการณ์ความไม่สงบในรอบ 5 ปี ผู้ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ฯในรอบ 5 ปี การช่วยเหลือ และเยียวยา สาระสำคัญ

  3. ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา มีผู้เคราะห์ร้ายจากเหตุการณ์ความรุนแรงเป็นจำนวนมาก ผู้เสียชีวิต และพิการ ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย จึงมีหญิงหม้าย และเด็กกำพร้า เป็นจำนวนมาก องค์กรต่าง ๆ ให้ความช่วยเหลือ แต่ยังไม่ครอบคลุมทั่วถึง และต่อเนื่อง ขาดระบบข้อมูลที่ดี และมีประสิทธิภาพ กรอบแนวคิดเบื้องต้นในการจัดการระบบฐานข้อมูล

  4. เพื่อสร้างฐานข้อมูลผู้สูญเสีย รวมทั้งหญิงหม้ายและเด็กกำพร้าที่มีความถูกต้อง ทันสมัย และสมบูรณ์ ประเมินความครอบคลุม ของการช่วยเหลือ และเยียวยา จัดทำรายงานผลดำเนินการได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์

  5. ระบบฐานข้อมูลความสูญเสียที่ถูกต้องและชัดเจนระบบฐานข้อมูลความสูญเสียที่ถูกต้องและชัดเจน สนับสนุนข้อมูลเพื่อการช่วยเหลือและเยียวยาผู้สูญเสียจากเหตุการณ์ความรุนแรงที่เข้มแข็งครอบคลุมทั่วถึง และสามารถติดตามได้ในระยะยาว สกัดองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาต่อไป ผลที่คาดว่าจะได้จากโครงการ

  6. เหตุการณ์ ความเสียหาย การช่วยเหลือ และเยียวยา ทรัพย์สิน คน ผู้เสียหาย ผู้ได้รับผลกระทบ(หญิงหม้ายและเด็กกำพร้า) ทำอย่างไรความช่วยเหลือ และเยียวยา จึงจะครอบคลุมและทั่วถึง ?

  7. พื้นที่ : จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส เวลา : ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึง ก.ค. พ.ศ. 2549 แหล่งข้อมูล : web site: ข่าวจากสำนักพิมพ์ต่าง ๆ รายงานของหน่วยงานต่าง ๆ วิธีการดำเนินการ

  8. สถานการณ์ความไม่สงบในรอบ5 ปี

  9. การกระจายของเหตุการณ์ความไม่สงบ พ.ศ. 2545 และ 2549 จำแนกตามจังหวัด รูปของ อ. จำนวนเหตุการณ์ใน 5 ปี สงขลา 296 ครั้ง (6.6) ปัตตานี 1319 ครั้ง (29.4) ยะลา 1137 ครั้ง (25.4) นราธิวาส 1731 ครั้ง (38.6) รวม 4483 ครั้ง (100.0)

  10. พ.ศ. สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม 2545 5 21 21 22 69 2546 0 25 7 33 65 เหตุการณ์ความไม่สงบ พ.ศ. 2545 และ 2546

  11. เหตุการณ์ความไม่สงบ พ.ศ. 2547 และ 2548 พ.ศ. สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม 2547 83 423 324 649 1479 (4 ครั้ง/วัน) 2548 158 646 609 823 2236 (6 ครั้ง/วัน)

  12. เหตุการณ์ความไม่สงบ พ.ศ. 2549 และ รวม 5 ปี พ.ศ. สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม 2549 50 204 176 204 634 (3 ครั้ง/วัน) 2545-2549 296 1319 1137 1731 4483 (3 ครั้ง/วัน)

  13. การกระจายของเดือนที่เกิดเหตุการณ์ จำแนกตามจังหวัด

  14. การกระจายของเวลาที่เกิดเหตุการณ์ จำแนกตามจังหวัด

  15. ผู้ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ฯ ในรอบ 5 ปี

  16. จำนวนผู้ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2545-2549 ในแต่ละจังหวัด จังหวัด พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 รวม สงขลา --68 115 40 223 - - (30.5) (51.6) (17.9) (100.0) ปัตตานี 9 28 372 481 169 1059 (0.9) (2.6) (35.1) (45.4) (16.0) (100.0) ยะลา 5 4 311 546 173 1039 (0.5) (0.4) (29.9) (52.6) (16.7) (100.0) นราธิวาส 8 39 611 870 214 1742 (0.5) (2.2) (35.1) (49.9) (12.3) (100.0) รวม(คน) 22 71 1362 2012 596 4063 (0.5) (1.8) (33.5) (49.5) (14.7) (100.0)

  17. ผู้บาดเจ็บ/เสียชีวิต พ.ศ. 2545-2549 ความเสียหาย ไม่ระบุ 596 (14.7) คน ปลอดภัย 352 (8.7) คน บาดเจ็บ 1917 (47.2) คน เสียชีวิต 1198 (29.4) คน

  18. ผู้เสียหาย พ.ศ. 2545-2549 จำแนกเพศ จำแนกศาสนา

  19. จำแนกอายุ จำแนกอาชีพ ผู้เสียหาย พ.ศ. 2545-2549

  20. จำนวนผู้เสียหายจากเหตุการณ์ความไม่สงบ พ.ศ. 2545-2549 สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม ผู้เสียหาย (คน) 223 1059 1039 1742 4063 เหตุการณ์ (ครั้ง) 296 1319 1137 1731 4483

  21. การช่วยเหลือ และเยียวยา

  22. หน่วยงาน จำนวนผู้ได้รับความช่วยเหลือ จำนวนเงิน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี 4255 284,688,859.- กองสลากกินแบ่งรัฐบาล 1204 201,280,000.- กองทุนสมานฉันท์ 801 4,055,200.- กอ.สสส.จชต. 373 31,016,857.- เงินช่วยเหลือเยียวยา 351 13,928,778.- สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด 319 5,988,000.- หน่วยงานอื่น ๆ (120 หน่วยงาน) 1699 69,215,889.- รวม 9755 628,371,781.- http://www.southernrelief.opm.go.th/southernrelief หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ

  23. ผู้ได้รับความช่วยเหลือจำแนกศาสนา (เปรียบเทียบ กยต.และฐานข้อมูล)พ.ศ. 2545-2549 ผู้ได้รับความช่วยเหลือ* ผู้เสียหาย** จังหวัด อิสลาม พุทธ+อื่น ๆ รวมอิสลาม พุทธ+อื่น ๆ รวม สงขลา 177 292 469 67 156 223 (37.7) (62.3) (100.0) (30.0) (67.0) (100.0) ปัตตานี 507 851 1358 393 666 1059 (37.3) (62.7) (100.0) (37.1) (62.9) (100.0) ยะลา 763 968 1731 375 664 1039 (44.1) (55.9) (100.0) (36.1) (63.9) (100.0) นราธิวาส 475 1217 1692 761 981 1742 (28.1) (71.9) (100.0) (43.7) (56.3) (100.0) รวม1922 3328 52501596 2467 4063 (36.6) (63.4) (100.0)(39.3) (60.7) (100.0) *ข้อมูลจาก กยต. **ข้อมูลจากฐานข้อมูล

  24. ผู้ได้รับความช่วยเหลือจำแนกศาสนา (เปรียบเทียบ กยต.และฐานข้อมูล)พ.ศ. 2547-2549 ผู้ได้รับความช่วยเหลือ* ผู้เสียหาย** จังหวัด อิสลาม พุทธ+อื่น ๆ รวมอิสลาม พุทธ+อื่น ๆ รวม สงขลา 177 292 469 67 156 223 (37.7) (62.3) (100.0) (30.0) (70.0) (100.0) ปัตตานี 507 851 1358 382 640 1022 (37.3) (62.7) (100.0) (37.4) (62.6) (100.0) ยะลา 763 968 1731 369 661 1030 (44.1) (55.9) (100.0) (35.8) (64.2) (100.0) นราธิวาส 475 1217 1692 727 968 1695 (28.1) (71.9) (100.0) (42.9) (57.1) (100.0) รวม1922 3328 52501545 2425 3970 (36.6) (63.4) (100.0)(38.9) (61.1) (100.0) *ข้อมูลจาก กยต. **ข้อมูลจากฐานข้อมูล

  25. เปรียบเทียบจำนวนผู้เสียหายจาก กยต. และ ฐานข้อมูล ผู้เสียหาย (คน) พ.ศ. 2547-2549 จังหวัด กยต. ฐานข้อมูล %ครอบคลุม สงขลา 132 223 59.2 ปัตตานี 571 1022 55.9 ยะลา 953 1030 92.5 นราธิวาส 1042 1695 61.5 ไม่ระบุ 40 รวม 2738 3970 69.0

  26. ความช่วยเหลือที่ต้องการความช่วยเหลือที่ต้องการ • เงินชดเชย • สวัสดิการสังคม (อาชีพ/การศึกษา/รักษาพยาบาล/ความเป็นอยู่) • การดูแลลูกหลาน กรณีหัวหน้าครอบครัวเสียชีวิต • ช่วยเหลือเรื่องทุนการศึกษา • ช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคม • ช่วยเหลือด้านการเงิน • ต้องการโยกย้าย • ช่วยเหลือด้านอาชีพ • การดูแลสภาพจิตใจ

  27. สรุป:เหตุการณ์ จำนวน : เวลา 55 เดือน เหตุการณ์จำนวน 4483 ครั้ง (วันละ 3 ครั้ง) ถ้าพิจารณาตั้งแต่ พ.ศ. 2547- 2549 ประมาณวันละ 5 ครั้ง พื้นที่ : พื้นที่ที่เกิดเหตุการณ์มากที่สุดคือ จังหวัดนราธิวาส (ร้อยละ 38.6) ปัตตานี ยะลา และสงขลา ตามลำดับ เวลา : เดือนที่เกิดเหตุการณ์มากมี 3 ช่วง (มี.ค.-เม.ย. มิ.ย. และ ต.ค.-พ.ย.) ช่วงเวลา: ช่วงเช้า (06:00-08:00 น.) และ ค่ำ (19:00-20:00 น.) มูลค่าความเสียหายของชีวิต ?

  28. จำนวน: ผู้เสียหาย 4063 คนใน 5 ปี (จำนวน 3 คน/วัน) ผู้เสียหาย พ.ศ. 2545-2549 จำนวน 3970 คน (จำนวน 5 คน/วัน) พื้นที่ : จำนวนผู้เสียหายมากที่สุดคือ จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และสงขลา ตามลำดับ ความเสียหาย : ชาย (ร้อยละ 86.3) บาดเจ็บ (ร้อยละ 47.2) เสียชีวิต (ร้อยละ 29.4) ปลอดภัย (ร้อยละ 8.7) ไม่ระบุ (ร้อยละ 14.7) จำนวนหญิงหม้าย+เด็กกำพร้า ?? 4063 x 2 = 8126 4063 x 3 = 12189 4063 x 4 = 16252 4063 x 5 = 20315 … สรุป:ผู้เสียหาย

  29. สรุป: การช่วยเหลือ และเยียวยา หน่วยงาน : จำนวนมากที่ให้ความช่วยเหลือ การช่วยเหลือ และเยียวยา : การช่วยเหลือครอบคลุมร้อยละ 69.0 (ประมาณ 2 ใน 3) เสียชีวิต ครอบครัวได้รับการช่วยเหลือ บาดเจ็บ ติดตามเรื่องสถานพยาบาล และผลการรักษา? ปลอดภัย สุขภาพจิต?

  30. ปัญหาและอุปสรรค ความน่าเชื่อถือ/ความสมบูรณ์ของข้อมูล การจัดการข้อมูล • ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง รูปแบบการจัดเก็บแตกต่างกัน ส่วนใหญ่บันทึกข้อมูลเป็นข้อความหรือประโยค • การตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูลทำได้ค่อนข้างยาก ใช้เวลามาก

  31. ข้อเสนอแนะ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีความร่วมมือ พัฒนาการจัดทำฐานข้อมูลเพี่อลดความซ้ำซ้อน และได้ข้อมูลที่มีความถูกต้อง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต • ควรตระหนักถึงผู้ที่ใกล้ชิดกับเหตุการณ์ แต่ได้รับความปลอดภัยด้วย ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์อาจมีผลต่อสุขภาพจิต

  32. ขอบคุณค่ะ

More Related